คณิตศาสตร์ กรุป

กรุป (อังกฤษ: group) ในพีชคณิตนามธรรม คือ เซตกับการดำเนินการทวิภาค เช่น การคูณหรือการบวก ซึ่งสอดคล้องกับสัจพจน์ชุดหนึ่งซึ่งเรียกว่าสัจพจน์ของกรุป ตัวอย่างของกรุปที่ง่ายที่สุดคือ เซตของจำนวนเต็มภายใต้การบวกปรกติ ซึ่งเป็นกรุปแบบหนึ่ง สาขาของคณิตที่ศึกษาเกี่ยวกับกรุปโดยเฉพาะเรียกว่า ทฤษฎีกรุป แต่กรุปยังปรากฏในสาขาอื่น ๆ ทั้งในคณิตศาสตร์สาขาอื่น ๆ และศาสตร์อื่น ๆ นอกเหนือจากคณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์ กรุป
การหมุนหน้าของลูกบาศก์ของรูบิกประกอบกันเป็นกรุป เรียกว่า กรุปลูกบาศก์ของรูบิก

กรุปเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาสมมาตรของวัตถุในรูปแบบต่าง ๆ หลักการที่ว่า "สมมาตรของวัตถุใด ๆ ก่อให้เกิดกรุป" เป็นหลักพื้นฐานของคณิตศาสตร์มากมาย ตัวอย่างโดยตรงคือกรุปสมมาตรของวัตถุ ซึ่งเป็นเครื่องมือหนึ่งในการอธิบายสมมาตรของวัตถุเชิงเรขาคณิต กรุปสมมาตรมีสมาชิกประกอบไปด้วยการแปลง (การหมุน การพลิกรูป การสะท้อน ฯลฯ) ที่คงรูปทรงของวัตถุนั้น ลีกรุปเป็นกรุปสมมาตรชนิดหนึ่งที่ปรากฏในแบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์อนุภาค กรุปปวงกาเรเป็นลีกรุปที่มีสมาชิกเป็นสมมาตรของกาลอวกาศในสัมพัทธภาพพิเศษ ในขณะที่กรุปจุดสามารถอธิบายสมมาตรของโมเลกุลเคมีได้

กรุปมีจุดกำเนิดเริ่มแรกจากการศึกษาสมการเชิงพหุนาม ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1830 เอวาริสต์ กาลัวเป็นคนแรกที่ใช้คำว่า กรุป (Groupe ในภาษาฝรั่งเศส) เรียกกรุปสมมาตรของรากของพหุนาม ซึ่งปัจจุบันเราเรียกกรุปเหล่านั้นว่า กรุปกาลัว ตั้งแต่นั้นมามีการศึกษากรุปจากสาขาอื่น ๆ ในคณิตศาสตร์ เช่น ทฤษฎีจำนวน และ เรขาคณิต ก่อนที่แนวความคิดเกี่ยวกับกรุปทั่ว ๆ ไปจะได้รับการนิยามในช่วงปีคริสต์ศักราชที่ 1870 ในช่วงเวลาเดียวกันกับที่คณิตศาสตร์พัฒนาไปในทิศทางที่เป็นนามธรรมขึ้นเรื่อย ๆ ทฤษฎีกรุปจึงเป็นสาขาสำคัญของพีชคณิตนามธรรม

ในปัจจุบัน ทฤษฎีกรุปสมัยใหม่ศึกษากรุปในตัวมันเอง ซึ่งนำไปสู่แนวคิดมากมาย เช่น สับกรุป กรุปผลหาร และ กรุปเชิงเดี่ยว นอกจากนี้นักคณิตศาสตร์ยังศึกษากรุปในมุมมองที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น และสามารถระบุได้อย่างเจาะจง การศึกษานี้นำไปสู่ทฤษฎีตัวแทนและทฤษฎีกรุปเชิงการคำนวณ

นิยามพื้นฐาน

กรุป คณิตศาสตร์ กรุป  ประกอบด้วย เซตไม่ว่าง คณิตศาสตร์ กรุป  กับ การดำเนินการทวิภาค คณิตศาสตร์ กรุป  ซึ่งสอดคล้องกับสัจพจน์ทุกข้อต่อไปนี้

  • การเปลี่ยนหมู่: สำหรับทุก คณิตศาสตร์ กรุป  และ คณิตศาสตร์ กรุป  ใน คณิตศาสตร์ กรุป  จะได้ว่า คณิตศาสตร์ กรุป 
  • การมีสมาชิกเอกลักษณ์: มีสมาชิก คณิตศาสตร์ กรุป  ใน คณิตศาสตร์ กรุป  ที่ทำให้สำหรับทุก คณิตศาสตร์ กรุป  ใน คณิตศาสตร์ กรุป  จะได้ว่า คณิตศาสตร์ กรุป  เรียก คณิตศาสตร์ กรุป  ว่าเป็นสมาชิกเอกลักษณ์ (identity) ของ คณิตศาสตร์ กรุป 
  • สมาชิกผกผัน: สำหรับทุก คณิตศาสตร์ กรุป  ใน คณิตศาสตร์ กรุป , จะมีสมาชิก คณิตศาสตร์ กรุป  ใน คณิตศาสตร์ กรุป  ที่ทำให้ คณิตศาสตร์ กรุป  เมื่อ คณิตศาสตร์ กรุป  คือสมาชิกเอกลักษณ์ และเรียก คณิตศาสตร์ กรุป  ดังกล่าวว่าเป็นสมาชิกผกผันของ คณิตศาสตร์ กรุป  สามารถพิสูจน์ได้ว่า สมาชิกผกผันในกรุปจะมีได้เพียงตัวเดียว และนิยมเขียนสมาชิกผกผันของ คณิตศาสตร์ กรุป  ด้วย คณิตศาสตร์ กรุป 

บางครั้งผู้เขียนอาจกำหนดสัจพจน์ที่กรุปต้องสอดคล้องเพิ่มเติม เพื่อเน้นย้ำความเป็นการดำเนินการทวิภาคของ คณิตศาสตร์ กรุป 

  • สมบัติปิด: สำหรับทุก คณิตศาสตร์ กรุป  ใน คณิตศาสตร์ กรุป  จะได้ว่า คณิตศาสตร์ กรุป  ด้วย

เมื่อเป็นที่เข้าใจ อาจละการเขียนตัวดำเนินการ และเรียกกรุป คณิตศาสตร์ กรุป  แทนด้วย คณิตศาสตร์ กรุป  แทน

ความคิดพื้นฐานในทฤษฎีกรุป

ฟังก์ชันสาทิสสัณฐานระหว่างกรุป

ฟังก์ชันสาทิสสัณฐานระหว่างกรุป หรือ โฮโมมอร์ฟิซึมระหว่างกรุป (group homomorphism) คือฟังก์ชันที่รักษาโครงสร้างการเป็นกรุป ฟังก์ชัน คณิตศาสตร์ กรุป  ระหว่างกรุป คณิตศาสตร์ กรุป  และ คณิตศาสตร์ กรุป  จะเป็นฟังก์ชันสาทิสสัณฐานระหว่างกรุป ก็ต่อเมื่อ

คณิตศาสตร์ กรุป 
สำหรับทุก คณิตศาสตร์ กรุป 

สมบัติที่ได้จากนิยามข้างต้นคือ

  • คณิตศาสตร์ กรุป  รักษาเอกลักษณ์ของกรุป: คณิตศาสตร์ กรุป  เมื่อ คณิตศาสตร์ กรุป  เป็นสมาชิกเอกลักษณ์ของกรุป คณิตศาสตร์ กรุป  และกรุป คณิตศาสตร์ กรุป  ตามลำดับ
  • คณิตศาสตร์ กรุป  รักษาการหาผกผัน: คณิตศาสตร์ กรุป  ทุกสมาชิก คณิตศาสตร์ กรุป 

สมบัติข้างต้นเน้นย้ำว่าฟังก์ชันสาทิสสัณฐานรักษาโครงสร้างของกรุป คณิตศาสตร์ กรุป 

อันดับของกรุปและอันดับของสมาชิก

อันดับ (order) ของกรุป คณิตศาสตร์ กรุป  (นิยมเขียนแทนด้วย คณิตศาสตร์ กรุป , คณิตศาสตร์ กรุป หรือ คณิตศาสตร์ กรุป ) จะหมายถึงจำนวนสมาชิกของกรุป คณิตศาสตร์ กรุป  ในกรณีที่ คณิตศาสตร์ กรุป  เป็นเซตจำกัด และจะเรียก คณิตศาสตร์ กรุป  ว่าเป็นกรุปจำกัด (Finite group) ในขณะที่ คณิตศาสตร์ กรุป  เป็นเซตอนันต์ จะเรียกว่ากรุปนั้นเป็นกรุปอนันต์ นิยมเขียนด้วย คณิตศาสตร์ กรุป 

อันดับของสมาชิก คณิตศาสตร์ กรุป  ในกรุป G คือจำนวนเต็ม n ที่น้อยที่สุดที่ทำให้ an = e โดยที่ an คือ a คูณตัวมันเอง n ครั้ง (หรือองค์ประกอบที่เหมาะสมอื่นๆ ขึ้นอยู่กับตัวดำเนินการของกรุป) ถ้าไม่มีจำนวนนับ n ดังกล่าว จะเรียกว่า a มีอันดับเป็นอนันต์

อาบีเลียนกรุป

กรุป G จะเป็น อาบีเลียนกรุป หรือ กรุปสลับที่ ถ้าการดำเนินการของกรุปมีสมบัติสลับที่ได้ นั่นคือสำหรับทุกๆ a,b ใน G จะได้ว่า a * b = b * a

คำว่า อาบีเลียน (Abelian) ตั้งขึ้นตามชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ นีลส์ อะเบล นักคณิตศาสตร์ชาวนอร์เวย์

กรุปวัฏจักร

กรุปวัฏจักร คือกรุปซึ่งสมาชิกของมันอาจถูกก่อกำเนิดโดยการประกอบที่ต่อเนื่องกันของการดำเนินการซึ่งนิยามโดยกรุปจะถูกใช้กับสมาชิกเดี่ยวของ กรุปนั้น สมาชิกเดี่ยวนี้เรียกว่า ตัวก่อกำเนิดหรือสมาชิกปฐมฐานของกรุปนั้น

กรุปวัฏจักรการคูณซึ่ง G เป็นกรุป และ a เป็นตัวก่อกำเนิด

คณิตศาสตร์ กรุป 

กรุปวัฏจักรการบวก ตัวก่อกำเนิดเป็น a

คณิตศาสตร์ กรุป 

ถ้าการประกอบที่ต่อเนื่องกันของการดำเนินการซึ่งนิยามโดยกรุปถูกใช้กับสมาชิกไม่ปฐมฐานของกรุป กรุปย่อยวัฏจักรจะถูกก่อกำเนิด อันดับของ กรุปย่อยวัฏจักรแบ่งอันดับของกรุปนั้น ดังนั้นถ้าอันดับของกรุปเป็นจำนวนเฉพาะ สมาชิกทุกตัวยกเว้นสมาชิกเอกลักษณ์จะเป็นสามชิกปฐมฐานของกรุป

ควรระลึกไว้ด้วยว่า กรุปประกอบด้วยกรุปย่อยวัฏจักรซึ่งถูกก่อกำเนิดโดยสมาชิกแต่ละตัวในกรุป อย่างไรก็ตามกรุปซึ่งประกอบขึ้นจากกรุปย่อยวัฏจักรนั้น ตัวมันเองไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นกรุปวัฏจักรเสมอไป ตัวอย่างเช่น กรุปไคลน์ไม่เป็นกรุปวัฏจักรแม้ว่าจะประกอบขึ้นมาจากกรุปวัฏจักรที่มีอันดับเป็น 2 ที่เหมือนกันสองกรุปก็ตามที

สัญกรณ์สำหรับกรุป

กรุปสามารถใช้สัญกรณ์ต่างๆ กันขึ้นอยู่กับบริบทและการดำเนินการ

  • กรุปการบวก ใช้ + เพื่อแสดงถึงการบวก และเครื่องหมายลบ - แสดงถึงสมาชิกผกผัน เช่น a + (-a) = 0 ใน Z
  • กรุปการคูณ ใช้ *,. หรือสัญลักษณ์ทั่วไป คณิตศาสตร์ กรุป  เพื่อแสดงถึงการคูณ และตัวยก -1 เพื่อแสดงสมาชิกผกผัน เช่น a*a-1 = 1 เป็นเรื่องธรรมดาที่จะไม่เขียน * และเขียนเป็น aa-1 แทน
  • กรุปแบบฟังก์ชัน ใช้ • เพื่อแสดงการประกอบฟังก์ชัน และตัวยก -1 เพื่อแสดงสมาชิกผกผัน เช่น gg-1 = e เป็นเรื่องทั่วไปที่จะไม่เขียน • และเขียนเป็นgg-1 แทน

การละเลยตัวดำเนินการเป็นเรื่องทั่วไปที่ยอมรับได้ และทิ้งให้ผู้อ่านรู้บริบทและการดำเนินการเอาเอง

เมื่อจะนิยามกรุป มีสัญกรณ์มาตรฐานที่ใช้วงเล็บในการนิยามกรุปและการดำเนินการของมัน ตัวอย่างเช่น (H, +) แสดงว่าเซต H เป็น กรุปภายใต้การบวก

สมาชิกเอกลักษณ์ e หรือบางครั้งก็เรียกว่า สมาขิกกลาง และบางครั้งก็ถูกแสดงโดยใช้สัญลักษณ์อืนๆ ขึ้นอยู่กับกรุปนั้นๆ :

  • ในกรุปการคูณ สมาชิกเอกลักษณ์คือ 1
  • ในกรุปเมทริกซ์หาตัวผกผันได้ สมาชิกเอกลักษณ์มักแทนด้วย I
  • ในกรุปการบวก สมาชิกเอกลักษณ์อาจเขียนเป็น 0
  • ในกรุปแบบฟังก์ชัน สมาชิกเอกลักษณ์มักใช้เป็น f0

ตัวอย่างของกรุป

อาบีเลียนกรุป : จำนวนเต็มภายใต้การบวก

กรุปที่คุ้นเคยกันก็คือกรุปของจำนวนเต็มภายใต้การบวก ให้ Z เป็นเซตของจำนวนเต็ม {..., −4, −3, −2, −1, 0, 1, 2, 3, 4, ...} และให้สัญลักษณ์ + แสดงการดำเนินการบวก แล้ว (Z,+) เป็นกรุป

พิสูจน์ :

  • สมบัติการปิด ถ้า a และ b เป็นจำนวนเต็ม แล้ว a+b ก็เป็นจำนวนเต็ม
  • สมบัติการเปลี่ยนหมู่ ถ้า a b และ c เป็นจำนวนเต็มแล้ว (a + b) + c = a + (b + c)
  • สมาชิกเอกลักษณ์ 0 เป็นจำนวนเต็ม สำหรับจำนวนเต็ม a ใดๆ 0 + a = a + 0 = a
  • สมาชิกผกผัน ถ้า a เป็นจำนวนเต็มแล้ว -a สอดคล้องกับกฎการผกผัน a + (−a) = (−a) + a = 0

กรุปนี้เป็นอาบีเลียนกรุปด้วยเพราะ a + b = b + a

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

Tags:

คณิตศาสตร์ กรุป นิยามพื้นฐานคณิตศาสตร์ กรุป ความคิดพื้นฐานในทฤษฎีกรุปคณิตศาสตร์ กรุป สัญกรณ์สำหรับกรุปคณิตศาสตร์ กรุป ตัวอย่างของกรุปคณิตศาสตร์ กรุป อ้างอิงคณิตศาสตร์ กรุป ดูเพิ่มคณิตศาสตร์ กรุปการดำเนินการทวิภาคจำนวนเต็มทฤษฎีกรุปพีชคณิตนามธรรมภาษาอังกฤษสัจพจน์เซต

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

จังหวัดมหาสารคามไค ฮาเวิทซ์สีประจำวันในประเทศไทยดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตาสมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชกองอาสารักษาดินแดนประเทศอิสราเอลวันพีซรายชื่อสัตว์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ทะเลทรายสะฮาราประเทศพม่าประเทศอิตาลีจิรายุ ตั้งศรีสุขมหาวิทยาลัยกรุงเทพคอมพิวเตอร์ประเทศอิหร่านพระศิวะมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชกิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์คริสเตียโน โรนัลโดประเทศรัสเซียพิชญ์นาฏ สาขากรปรมาจารย์ลัทธิมาร (ละครโทรทัศน์)Fจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ร่างทรง (ภาพยนตร์)สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์พระไตรปิฎกพล ตัณฑเสถียรคลิปวิดีโอยิ่งลักษณ์ ชินวัตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีธีรเดช เมธาวรายุทธมหาวิทยาลัยขอนแก่นสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรโบรูโตะประเทศอินเดียสามเหลี่ยมเบอร์มิวดารายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยราชสกุลจังหวัดเพชรบูรณ์พรหมลิขิตวิธวัฒน์ สิงห์ลำพองอัสซะลามุอะลัยกุมจังหวัดชัยภูมิกองทัพเรือไทยเมลดา สุศรี1ICD-10พระศรีอริยเมตไตรยภักดีหาญส์ หิมะทองคำบิ๊กแอสโลก (ดาวเคราะห์)ท่าอากาศยานดอนเมืองพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลจิราพร สินธุไพรชวน หลีกภัยพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567ประเทศโมนาโกต่าย อรทัยจิรวัฒน์ สอนวิเชียรช่อง 3 เอชดีกรมการปกครองรายชื่อละครโทรทัศน์ทางช่อง 7HDดาบพิฆาตอสูรรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ไฟเยอโนร์ดกองทัพอากาศไทยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พรรคก้าวไกลอังศุมาลิน สิรภัทรศักดิ์เมธาหน้าไพ่ประเทศคาซัคสถานระบบวัดโสธรวรารามวรวิหารเฟซบุ๊ก🡆 More