สะพานเออเรซุนด์

สะพานเออเรซุนด์ (เดนมาร์ก: Øresundsbroen ; สวีเดน: Öresundsbron ; ชื่อผสมผสาน: Øresundsbron) เป็นสะพานทางยกระดับและสะพานรถไฟข้ามช่องแคบเออเรซุนด์ ระหว่างเดนมาร์กกับสวีเดน ถือเป็นสะพานทางเดินรถและรางรวมกันที่ยาวที่สุดในทวีปยุโรป ด้วยความนาวเกือบ 8 กิโลเมตร (5 ไมล์) จากชายฝั่งของเมืองมัลเมอ ประเทศสวีเดน ไปยังเกาะเพอเบอร์ฮ็อล์มที่มนุษย์สร้างขึ้น ตั้งอยู่ใจกลางช่องแคบ การข้ามช่องแคบยังต้องใช้ระยะทางอีก 4-กิโลเมตร (2.5-ไมล์) ผ่านไปทางอุโมงค์ดรอยเดินต่อเข้าไปยังเกาะอามาเยอร์ในประเทศเดนมาร์ก

สะพานเออเรซุนด์
สะพานเออเรซุนด์
ภาพถ่ายสะพานเมื่อปี 2015 จากอากาศยาน
พิกัด55°34′31″N 12°49′37″E / 55.57528°N 12.82694°E / 55.57528; 12.82694
เส้นทางสี่ช่องทางเดินรถของอี 20 ยุโรป
สายเออเรซุนด์รางคู่
ข้ามช่องแคลเออเรซุนด์
ที่ตั้งโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก กับ มัลเมอ ประเทศสวีเดน
ชื่อทางการØresundsbron (โดยบริษัทก่อสร้าง), Øresundsbroen (ภาษาเดนมาร์ก), Öresundsbron (ภาษาสวีเดน)
ข้อมูลจำเพาะ
ประเภทสะพานขึง
ความยาว7,845 เมตร (25,738 ฟุต)
ความกว้าง23.5 เมตร (77.1 ฟุต)
ความสูง204 เมตร (669 ฟุต)
ช่วงยาวที่สุด490 เมตร (1,608 ฟุต)
เคลียร์ตอนล่าง57 เมตร (187 ฟุต)
ประวัติ
ผู้ออกแบบJorgen Nissen, Klaus Falbe Hansen, Niels Gimsing และ Georg Rotne
ออกแบบวิศวกรรมOve Arup & Partners
Setec
ISC
Gimsing & Madsen
ผู้สร้างHochtief, Skanska, Højgaard & Schultz และ Monberg & Thorsen
วันเริ่มสร้าง1995
วันสร้างเสร็จ1999
งบก่อสร้าง19.6 พันล้าน DKK
25.8 พันล้าน SEK
2.6 พันล้าน EUR
วันเปิด1 กรกฎาคม 2000
สถิติ
การจราจรโดยเฉลี่ยยานยนต์เฉลี่ย 18,954 ต่อวัน (2014)
ค่าผ่านDKK 390, SEK 460 หรือ EUR 65
ที่ตั้ง

สะพานเชื่อมต่อระบบถนนและระบบรางของคาบสมุทรสแกนดิเนเวียเข้ากับยุโรปกลางและยุโรปตะวันตก นอกจากนี้สะพานยังมีการติดตั้งสายส่งสัญญาณข้อมูลที่เป็นกระดูกสันหลังของการเชื่อมต่อข้อมูลอินเทอร์เน็ตระหว่างสวีเดนกับยุโรปกลาง ถนนของสะพานเป็นส่วนหนึ่งของทางด่วนยุโรปสายอี 20 ส่วนรางเป็นส่วนหนึ่งของสายเออเรซุนด์

สะพานเป็นผลงานออกแบบโดย Jorgen Nissen และ Klaus Falbe Hansen จาก Ove Arup and Partners และ Niels Gimsing กับ Georg Rotne

อ้างอิง

Tags:

Amagerประเทศสวีเดนประเทศเดนมาร์กภาษาสวีเดนภาษาเดนมาร์กมัลเมอสวีเดนเดนมาร์กเออเรซุนด์

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ไททานิค (ภาพยนตร์)รายชื่อตัวละครในวันพีซประเทศฟิลิปปินส์จังหวัดตรังรายชื่อธนาคารในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลอิปสวิชทาวน์รายชื่อสกุลญี่ปุ่นที่ใช้มากที่สุดบาป 7 ประการและสิ่งสุดท้ายสี่อย่างรายชื่อโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานครกฤษณภูมิ พิบูลสงครามปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ธีรดนย์ ศุภพันธุ์ภิญโญสกีบีดีทอยเล็ตสาธุ (ละครโทรทัศน์)Fเศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิไคลี เจนเนอร์ประเทศออสเตรียพระสุริโยทัยสุทธิรักษ์ ทรัพย์วิจิตรจังหวัดปราจีนบุรีมหาวิทยาลัยรังสิตชลน่าน ศรีแก้วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)รอยรักรอยบาปดาร์วิน นุญเญซร่างทรง (ภาพยนตร์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยบิ๊กแอสแอน อรดีกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)สุรเชษฐ์ หักพาลอีสซึ่นGการแข่งขันระหว่างสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลกับสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดรถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยาจังหวัดเชียงใหม่โยฮัน ไกรฟฟ์ชา อึน-อูวรรณี เจียรวนนท์ รอสส์สงครามยุทธหัตถีมหาวิทยาลัยสวนดุสิตท้าวสุรนารีมาสค์ไรเดอร์ซีรีส์รามาวดี นาคฉัตรีย์ประเทศออสเตรเลียคำอุปสรรคเอสไอทิโมธี ชาลาเมต์ประเทศกาตาร์ผู้หญิง 5 บาปอิงฟ้า วราหะอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งพิธา ลิ้มเจริญรัตน์สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลปาณัสม์ กิตติภาณุวงศ์มหัพภาคจรินทร์พร จุนเกียรติอริยสัจ 4จักรราศีพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 25672สามก๊กจำนวนเฉพาะสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังจังหวัดกระบี่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดวรกมล ชาเตอร์ฟุตซอลโลก 2012หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุลดวงอาทิตย์จังหวัดพิจิตรเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยดูไบชาลี ไตรรัตน์🡆 More