การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน

การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน (อังกฤษ: Köppen climate classification) เป็นหนึ่งในระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศที่ใช้กันกว้างขวางที่สุด วลาดีเมียร์ เคิพเพิน เป็นผู้เผยแพร่ระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศนี้เป็นคนแรกใน พ.ศ.

2427 และการแก้ไขเล็กน้อยโดยเคิพเพินเองตามมาใน พ.ศ. 2461 และ พ.ศ. 2479 ภายหลังนักกาลวิทยาชาวเยอรมันนามว่า รูด็อล์ฟ ไกเกอร์ ร่วมมือกับเคิพเพินเปลี่ยนแปลงระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศนี้ บางครั้งจึงอาจเรียกระบบนี้ว่า การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพินและไกเกอร์ (Köppen–Geiger climate classification system)

การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน
แผนที่แสดงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน
  Af
  Am
  Aw
  BWh
  BWk
  BSh
  BSk
  Csa
  Csb
  Cwa
  Cwb
  Cwc
  Cfa
  Cfb
  Cfc
  Dsa
  Dsb
  Dsc
  Dsd
  Dwa
  Dwb
  Dwc
  Dwd
  Dfa
  Dfb
  Dfc
  Dfd
  ET
  EF
ตารางคำอธิบายสัญลักษณ์การจำแนกสภาพภูมิอากาศแบบเคิพเพิน
ชั้นที่ 1 ชั้นที่ 2 ชั้นที่ 3
ภูมิอากาศเขตร้อน
(A)
f (ป่าฝน, ป่าดิบชื้น)
m (มรสุม)
s (สะวันนา, แห้งแล้งในฤดูร้อน)
w (สะวันนา, อบอุ่นชื้นในฤดูร้อน)
ภูมิอากาศเขตแห้งแล้ง
(B)
S (ทุ่งหญ้าสเตปป์, ทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย)
W (ทะเลทราย)
h (ร้อน)
k (อบอุ่น)
ภูมิอากาศเขตอบอุ่น
(C)
f (ไม่มีฤดูแล้ง)
s (แห้งแล้งในฤดูร้อน)
w (แห้งแล้งในฤดูหนาว)
a (อบอุ่นชื้น)
b (อบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร)
c (หนาวภาคพื้นสมุทร)
ภูมิอากาศเขตหนาว
(D)
f (ไม่มีฤดูแล้ง)
s (แห้งแล้งในฤดูร้อน)
w (แห้งแล้งในฤดูหนาว)
a (อบอุ่นชื้น)
b (อบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร)
c (หนาวภาคพื้นสมุทร)
d (หนาว)
ภูมิอากาศเขตขั้วโลก
(E)
T (ทุนดรา)
F (ทุ่งน้ำแข็ง)
H (สูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 1,500 เมตร)

การแบ่งเขตภูมิอากาศ

การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพินนั้นแบ่งเขตภูมิอากาศเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ 6 กลุ่ม (อันประกอบด้วยกลุ่ม A, B, C, D,E และH) แต่ละกลุ่มใหญ่จะมีประเภทของเขตภูมิอากาศแบบต่าง ๆ อยู่ โดยแต่ละประเภทจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์อักษรภาษาอังกฤษตั้งแต่ 2 ถึง 4 ตัวอักษร

กลุ่ม A (ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น)

ภูมิอากาศแบบร้อนชื้นมีลักษณะพิเศษคืออุญหภูมิที่ค่อนข้างสูงบริเวณระดับน้ำทะเล ตลอดเวลา 12 เดือนใน 1 ปี จะมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 18 องศาเซลเซียส (64 องศาฟาเรนไฮต์) หรือสูงกว่านี้ ภูมิอากาศแบบร้อนชื้นสามารถแบ่งได้เป็นเขตภูมิอากาศย่อย ๆ ดังนี้

กลุ่ม B (ภูมิอากาศแบบแห้งแล้ง)

ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งเป็นบริเวณที่มีการระเหยของน้ำสูง ไม่มีปริมาณฝนเหลือพอที่จะเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ปรากฏทั้งในเขตร้อนและเขตอบอุ่น แบ่งเป็นภูมิอากาศย่อยดังนี้

  • ภูมิอากาศแบบทะเลทราย (BW) ปริมาณฝนตลอดปีน้อยกว่า 250 มิลลิเมตร (10 นิ้ว) ส่วนมากพบอยู่ตอนในของภาคพื้นทวีปทั้งบริเวณอากาศร้อนและอากาศอบอุ่น ทำให้แบ่งภูมิอากาศย่อยได้ ดังนี้
  • ภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทราย (BS) มีลักษณะเป็นทุ่งหญ้าสั้น ๆ ปริมาณฝนอยู่ระหว่าง 250–750 มิลลิเมตร (10–30 นิ้ว) พบอยู่รอบทะเลทรายบริเวณอากาศร้อนและทะเลทรายบริเวณอากาศอบอุ่น ทำให้แบ่งภูมิอากาศย่อยได้ ดังนี้
    • ภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทรายเขตร้อน (BSh)
    • ภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทรายเขตอบอุ่น (BSk)

กลุ่ม C (ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นแถบละติจูดกลาง)

กลุ่ม D (ภูมิอากาศแบบชื้นภาคพื้นทวีป)

กลุ่ม E (ภูมิอากาศแบบขั้วโลก)

แผนที่เพิ่มเติม

ตาราง

เขตภูมิอากาศ ภูมิอากาศ อุณหภูมิ
ภูมิอากาศเขตร้อน
(A)
Af ภูมิอากาศแบบป่าฝนเขตร้อน เฉลี่ยรายเดือนสูงกว่า 18°C
Am ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน เฉลี่ยรายเดือนสูงกว่า 18°C
As ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา แห้งแล้งในฤดูร้อน เฉลี่ยรายเดือนสูงกว่า 18°C
Aw ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา อบอุ่นชื้นในฤดูร้อน เฉลี่ยรายเดือนสูงกว่า 18°C
ภูมิอากาศเขตแห้งแล้ง
(B)
BS ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย BSh ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายเขตร้อน เฉลี่ยรายปีสูงกว่า 18°C
BSk ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายเขตอบอุ่น เฉลี่ยรายปีต่ำกว่า 18°C
BW ภูมิอากาศแบบทะเลทราย BWh ภูมิอากาศแบบทะเลทรายเขตร้อน เฉลี่ยรายปีสูงกว่า 18°C
BWk ภูมิอากาศแบบทะเลทรายเขตอบอุ่น เฉลี่ยรายปีต่ำกว่า 18°C
ภูมิอากาศเขตอบอุ่น
(C)
Cf ภูมิอากาศแบบไม่มีฤดูแล้ง Cfa ภูมิอากาศแบบไม่มีฤดูแล้งอบอุ่นชื้น เฉลี่ยในฤดูร้อนสูงกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Cfb ภูมิอากาศแบบไม่มีฤดูแล้งอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Cfc ภูมิอากาศแบบไม่มีฤดูแล้งหนาวภาคพื้นสมุทร เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีน้อยกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด ต่ำกว่า -3°C
Cs ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน Csa ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนอบอุ่นชื้น เฉลี่ยในฤดูร้อนสูงกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Csb ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Cw ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูหนาว Cwa ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูหนาวอบอุ่นชื้น เฉลี่ยในฤดูร้อนสูงกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Cwb ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูหนาวอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Cwc ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูหนาวหนาวภาคพื้นสมุทร เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีน้อยกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด ต่ำกว่า -3°C
ภูมิอากาศเขตหนาว
(D)
Df ภูมิอากาศแบบไม่มีฤดูแล้ง Dfa ภูมิอากาศแบบไม่มีฤดูแล้งอบอุ่นชื้น เฉลี่ยในฤดูร้อนสูงกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Dfb ภูมิอากาศแบบไม่มีฤดูแล้งอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Dfc ภูมิอากาศแบบไม่มีฤดูแล้งหนาวภาคพื้นสมุทร เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีน้อยกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด ต่ำกว่า -3°C
Dfd ภูมิอากาศแบบไม่มีฤดูแล้งหนาว เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีน้อยกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า -38°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด ต่ำกว่า -3°C
Ds ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูร้อน Dsa ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูร้อนอบอุ่นชื้น เฉลี่ยในฤดูร้อนสูงกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Dsb ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูร้อนอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Dsc ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูร้อนหนาวภาคพื้นสมุทร เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีน้อยกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด ต่ำกว่า -3°C
Dsd ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูร้อนหนาว เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีน้อยกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า -38°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด ต่ำกว่า -3°C
Dw ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูหนาว Dwa ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูหนาวอบอุ่นชื้น เฉลี่ยในฤดูร้อนสูงกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Dwb ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูหนาวอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีมากกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด อยู่ระหว่าง -3°C ถึง 18°C
Dwc ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูหนาวหนาวภาคพื้นสมุทร เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีน้อยกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า 10°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด ต่ำกว่า -3°C
Dwd ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูหนาวหนาว เฉลี่ยในฤดูร้อนต่ำกว่า 22°C
มีน้อยกว่า 4 เดือนที่อุณหภูมิสูงกว่า -38°C
เฉลี่ยในเดือนที่หนาวที่สุด ต่ำกว่า -3°C
ภูมิอากาศเขตขั้วโลก
(E)
EF ภูมิอากาศแบบทุ่งน้ำแข็ง เฉลี่ยในฤดูร้อนอยู่ระหว่าง 0°C ถึง 10°C
ET1 ภูมิอากาศแบบทุนดรา เฉลี่ยในฤดูร้อนอยู่ระหว่าง 0°C ถึง 10°C
1.^ ถ้าในแผนที่มีตัว H แสดงว่าเป็นภูมิอากาศแบบทุนดราที่มีความสูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 1,500 เมตร

อ้างอิง

Tags:

การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน แผนที่เพิ่มเติมการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน ตาราง[3]การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน อ้างอิงการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพินภาษาอังกฤษวลาดีเมียร์ เคิพเพิน

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

สโมสรฟุตบอลฟีออเรนตีนาการบินไทยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์รายชื่อตัวละครในดาบพิฆาตอสูรรายชื่อตอนในเป็นต่อภาษาเกาหลีประวัติศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิตหม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้ารหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศเอซี มิลานฟุตซอลเจสัน สเตธัมฟุตซอลไทยลีกรีโว่ คัพ 2566–67ประเทศสวิตเซอร์แลนด์แบตเตอรี่รายชื่อตัวละครในเกิดใหม่ทั้งทีก็เป็นสไลม์ไปซะแล้วจีรนันท์ มะโนแจ่มพระเยซูพระพรหมดวงใจเทวพรหมศิริลักษณ์ คองรายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทยอาณาจักรล้านนาอาเอฟเซ อายักซ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารรายชื่อตัวละครในยอดนักสืบจิ๋วโคนันอริยสัจ 4.comเดนิส เจลีลชา คัปปุนแปลก พิบูลสงครามจังหวัดชลบุรีสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)ประเทศฟิลิปปินส์ธัญญภัสร์ ภัทรธีรชัยเจริญจังหวัดกาญจนบุรีสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก4 KINGS อาชีวะ ยุค 90มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเสกสรรค์ ศุขพิมายภรภัทร ศรีขจรเดชาชาวอาร์มีเนียชาคริต แย้มนามจังหวัดน่านชาวมอญหอแต๋วแตก (ภาพยนตร์ชุด)ปราชญา เรืองโรจน์จังหวัดชัยภูมิโทกูงาวะ อิเอยาซุจังหวัดนครศรีธรรมราชสำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)ราชวงศ์ชิงลิโอเนล เมสซิปีนักษัตรต่อศักดิ์ สุขวิมลประเทศไต้หวันจังหวัดอุดรธานีณัฐฐชาช์ บุญประชมดอลลาร์สหรัฐจรินทร์พร จุนเกียรติรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/กจังหวัดสมุทรสาครสมเด็จพระนารายณ์มหาราชรัสมุส ฮอยลุนด์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกการแข่งขันระหว่างสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลกับสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดประเทศนิวซีแลนด์โทโยโตมิ ฮิเดโยชิฟุตซอลโลกกรภัทร์ เกิดพันธุ์วัดไร่ขิงฟุตซอลโลก 2024สุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)ประเทศอิสราเอลกรุงเทพมหานครศุภ สง่าวรวงศ์ไตรลักษณ์🡆 More