ภาษาโรมาเนีย

ภาษาโรมาเนีย (โรมาเนีย: română) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์บอลข่านที่ผู้คนประมาณ 24–26 ล้านคน (ส่วนใหญ่อยู่ในโรมาเนียและมอลโดวา) พูดเป็นภาษาแม่ และอีก 4 ล้านคนพูดเป็นภาษาที่สอง จากการประมาณอีกแบบหนึ่ง มีผู้คนประมาณ 34 ล้านคนทั่วโลกที่พูดภาษาโรมาเนียได้ โดย 30 ล้านคนในจำนวนนี้พูดเป็นภาษาแม่ ภาษาโรมาเนียเป็นภาษาทางการและภาษาประจำชาติของทั้งโรมาเนียและมอลโดวา และเป็นหนึ่งในภาษาทางการของสหภาพยุโรป

ภาษาโรมาเนีย
ภาษาดากิอา-โรมาเนีย
română
ออกเสียง[roˈmɨnə]
ประเทศที่มีการพูดโรมาเนีย, มอลโดวา
ชาติพันธุ์ชาวโรมาเนีย (รวมชาวมอลโดวา)
จำนวนผู้พูด24–26 ล้านคน  (2559)
ผู้พูดเป็นภาษาที่สอง: 4 ล้านคน
ผู้พูดเป็นภาษาที่หนึ่ง+ภาษาที่สอง: 28–30 ล้านคน
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
รูปแบบก่อนหน้า
ภาษาโรมาเนียดั้งเดิม
  • ภาษาโรมาเนีย
ภาษาถิ่น
ทรานซิลเวเนีย
กรีชานา
มอลเดเวีย
บานัต
วอลเลเกีย
มารามูเรช
บูโควีนา
ระบบการเขียน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย
ภาษาโรมาเนีย มอลโดวา
วอยวอดีนา (เซอร์เบีย)
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองในธงของประเทศฮังการี ฮังการี
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน
ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย
ธงของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ผู้วางระเบียบ • บัณฑิตยสถานโรมาเนีย
 • บัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์มอลโดวา
รหัสภาษา
ISO 639-1ro
ISO 639-2rum (B)
ron (T)
ISO 639-3ron
Linguasphere51-AAD-c (วิธภาษา: 51-AAD-ca ถึง -ck)
ภาษาโรมาเนีย
สีน้ำเงิน: ภูมิภาคที่ซึ่งภาษาโรมาเนียเป็นภาษาเด่น
สีเขียว: พื้นที่ที่มีชนกลุ่มน้อยสำคัญที่พูดภาษาโรมาเนีย
ภาษาโรมาเนีย
การกระจายของภาษาโรมาเนียในโรมาเนีย มอลโดวา และพื้นที่ข้างเคียง
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาโรมาเนียเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มภาษาโรมานซ์ตะวันออกซึ่งเป็นกลุ่มของภาษาที่พัฒนามาจากภาษาละตินสามัญรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งแตกตัวจากภาษากลุ่มโรมานซ์ตะวันตกในช่วงเวลาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 8 เพื่อแยกความแตกต่างภายในกลุ่มภาษาโรมานซ์ตะวันออก ในทางภาษาศาสตร์เปรียบเทียบเรียกภาษาโรมาเนียว่า ภาษาดากิอา-โรมาเนีย เมื่อเทียบกับภาษาที่ใกล้ชิดที่สุดอย่างภาษาอาโรมาเนียน ภาษาโมเกลนา-โรมาเนีย และภาษาอิสเตรีย-โรมาเนีย ภาษาโรมาเนียยังมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ภาษามอลโดวา ในมอลโดวา แต่ใน พ.ศ. 2556 ศาลรัฐธรรมนูญของมอลโดวาได้ตัดสินว่าภาษาทางการของสาธารณรัฐมีชื่อว่า ภาษาโรมาเนีย ตามที่ได้ระบุไว้ในคำประกาศอิสรภาพมอลโดวา

ผู้พูดภาษาโรมาเนียพลัดถิ่นอาศัยอยู่กระจัดกระจายไปตามภูมิภาคและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกโดยมีประชากรจำนวนมากในอิตาลี สเปน เยอรมนี สหราชอาณาจักร แคนาดา และสหรัฐ

อ้างอิง

Tags:

ภาษาทางการภาษาที่สองภาษาแม่มอลโดวาสหภาพยุโรปโรมาเนีย

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

ทวีปยุโรปศาสนารายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเชียงใหม่พรหมลิขิตพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลางอนุทิน ชาญวีรกูลรามาวดี นาคฉัตรีย์ปฏิวัติ คำไหมกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)รถด่วนพิเศษทักษิณารัถย์แคพิบารารายชื่อตัวละครในกังฟูแพนด้าสโมสรฟุตบอลโอเดนเซสายัณห์ สัญญากอล์ฟ-ไมค์รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดชลบุรีรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดระยองสภาผู้แทนราษฎรไทยอีสเตอร์กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศสรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสมุทรสาครโดราเอมอนฟุตบอลโลก 2022เจมส์ มาร์สงครามเวียดนามนนท์ อัลภาชน์หมายเลขโทรศัพท์ในประเทศไทยประเทศเปรูปฏิจจสมุปบาทอินสตาแกรมเดือนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ณปภา ตันตระกูลสินจัย เปล่งพานิชวัชรเรศร วิวัชรวงศ์อาณาจักรอยุธยาทักษิณ ชินวัตรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าต่าย อรทัยท่าอากาศยานดอนเมืองรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดปทุมธานีเมษายนศรุต วิจิตรานนท์สโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์ข้อมูลสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดอี โด-ฮย็อนยอดนักสืบจิ๋วโคนันฉบับภาพยนตร์ทวีปรายชื่อภาพยนตร์ในจักรวาลภาพยนตร์มาร์เวลอาณาจักรสุโขทัยประเทศไต้หวัน2เรือนทาสดาบพิฆาตอสูรจังหวัดมหาสารคามวชิรวิชญ์ วัฒนภักดีไพศาลสุวัฒน์ แจ้งยอดสุขการบัญชีโป๊กเกอร์จังหวัดสมุทรปราการคณะองคมนตรีไทยเศรษฐา ทวีสินทักษอร ภักดิ์สุขเจริญสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญามหาวิทยาลัยมหาสารคามคิมเบอร์ลี่ แอน โวลเทมัสละหมาดอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ณัฏฐณิชา ดังวัธนาวณิชย์ชีอะฮ์รายชื่อละครโทรทัศน์ทางช่อง 7HDจังหวัดร้อยเอ็ดกีลียาน อึมบาเปสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)🡆 More