จาวาสคริปต์

จาวาสคริปต์ (อังกฤษ: JavaScript) เป็นภาษาสคริปต์ ทีมีลักษณะการเขียนแบบโพรโทไทป์ (Prototyped-based Programming) ส่วนมากใช้ในหน้าเว็บเพื่อประมวลผลข้อมูลที่ฝั่งของผู้ใช้งาน แต่ก็ยังมีใช้เพื่อเพิ่มเติมความสามารถในการเขียนสคริปต์โดยฝังอยู่ในโปรแกรมอื่น ๆ

จาวาสคริปต์
กระบวนทัศน์Multi-paradigm: scripting, object-oriented (prototype-based), imperative, functional
ผู้ออกแบบBrendan Eich
ผู้พัฒนาNetscape Communications Corporation, Mozilla Foundation, Ecma International
เริ่มเมื่อพฤษภาคม 1995; 28 ปีที่แล้ว (1995-05)
รุ่นเสถียร
ECMAScript 6 / 17 มิถุนายน 2015; 8 ปีก่อน (2015-06-17)
ระบบชนิดตัวแปรdynamic, duck
เว็บไซต์www.ecma-international.org/publications-and-standards/standards/ecma-262/
ตัวแปลภาษาหลัก
KJS, Rhino, SpiderMonkey, V8, Carakan, Chakra
ได้รับอิทธิพลจาก
Lua, Scheme, Perl, Self, Java, C, Python, AWK, HyperTalk
ส่งอิทธิพลต่อ
ActionScript, AtScript, CoffeeScript, Dart, JScript .NET, Objective-J, QML, TypeScript, LiveScript
JavaScript
จาวาสคริปต์
นามสกุลไฟล์
.js
ประเภทสื่ออินเทอร์เน็ต
  • application/javascript
  • text/javascript (obsolete)
Uniform Type Identifier (UTI)com.netscape.javascript-source
รูปแบบScripting language

ภาษาจาวาสคริปต์ไม่มีความสัมพันธ์กับ ภาษาจาวา (อังกฤษ: Java) แต่อย่างใด ยกเว้นแต่โครงสร้างภาษาที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน เนื่องมาจากได้รับการพัฒนาต่อมาจากภาษาซีเหมือน ๆ กัน และมีชื่อที่คล้ายคลึงกันเท่านั้น

ประวัติ

เริ่มพัฒนาโดย Brendan Eich พนักงานบริษัทเน็ตสเคป โดยขณะนั้นจาวาสคริปต์ใช้ชื่อว่า โมคา (Mocha) และภายหลังได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ไลฟ์สคริปต์ และเป็น จาวาสคริปต์ในปัจจุบัน รูปแบบการเขียนภาษาที่ใช้ คล้ายคลึงกับภาษาซี รุ่นล่าสุดของจาวาสคริปต์คือ 2.0 ซึ่งตรงกับมาตรฐานของ ECMAScript

สำหรับเจสคริปต์ (JScript) หลังจากที่จาวาสคริปต์ประสบความสำเร็จ โดยมีเว็บเบราว์เซอร์จากหลายๆ บริษัทนำมาใช้งาน ทางไมโครซอฟท์จึงได้พัฒนาภาษาโปรแกรมที่ทำงานในลักษณะคล้ายคลึงกับจาวาสคริปต์ขึ้น และตั้งชื่อว่าเจสคริปต์ ซึ่งทำงานได้กับเบราว์เซอร์อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ (Internet Explorer) เท่านั้น เริ่มใช้ครั้งแรกใน อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ 3.0 เมื่อ สิงหาคม พ.ศ. 2539 โดยสร้างตามมาตรฐาน ECMA 262

เครื่องหมายการค้า

ออราเคิลคอร์ปอเรชัน เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้า "JavaScript" ในสหรัฐอเมริกา แรกเริ่มเดิมทีนั้นเครื่องหมายการค้าเป็นของ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ และถูกโอนไปยังออราเคิลหลักจากที่ออราเคิลได้เข้าซื้อกิจการ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ ใน พ.ศ. 2552


การใช้งาน

จาวาสคริปต์ เป็นภาษาในรูปแบบของภาษาโปรแกรมแบบโพรโทไทป์ โดยมีโครงสร้างของภาษาและไวยกรณ์อยู่บนพื้นฐานของภาษาซี

ปัจจุบันมีการใช้จาวาสคริปต์ที่ฝังอยู่ในเว็บเบราว์เซอร์ในหลายรูปแบบ เช่น ใช้เพื่อสร้างเนื้อหาที่เปลี่ยนแปลงเสมอภายในเว็บเพจ, ใช้เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ผู้ใช้กรอกก่อนนำเข้าระบบ, ใช้เพื่อเข้าถึงข้อมูลที่อยู่ภายใต้โครงสร้างแบบ Document Object Model (DOM) เป็นต้น

นอกจากนี้จาวาสคริปต์ยังถูกฝังอยู่ในแอปพลิเคชันต่าง ๆ นอกเหนือจากเว็บเบราว์เซอร์ได้อีกด้วย เช่น widget ของ ยาฮู! เป็นต้น โดยรวมแล้วจาวาสคริปต์ถูกใช้เพื่อให้นักพัฒนาโปรแกรม สามารถเขียนสคริปต์เพื่อสร้างคุณสมบัติพิเศษต่างๆ เพิ่มเติมจากที่มีอยู่บนแอปพลิเคชันดังเดิม

โปรแกรมใด ๆ ที่สนับสนุนจาวาสคริปต์จะมีตัวขับเคลื่อนจาวาสคริปต์ (JavaScript Engine) ของตัวเอง เพื่อเรียกใช้งานโครงสร้างเชิงวัตถุของโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันนั้น ๆ

การประกาศใช้งานตัวแปร

ตัวแปร ในจาวาสคริปต์ สามารถประกาศใช้งานตัวแปรได้หลายรูปแบบ เช่นการใช้ var, let หรือ const นำหน้าชื่อตัวแปร

var x; //ประกาศตัวแปร x, โดยที่ยังไม่มีการใส่ค่า var y = 2; //ประกาศตัวแปร y ให้มีค่าเท่ากับ 2  let z = 1 //ทำให้ z เท่ากับ 1  //ทำให้ x มีค่า x = 3; //ทำให้ x มีค่า  //เปลี่ยนค่า z เป็นค่า x z = x; //เปลี่ยนค่า z ให้มีค่าเท่ากับ x  const x1 = true; //ทำให้ x1 มีค่าเป็น true หรือเป็นจริง //โดย const จะทำให้ไม่สามารถเปลี่ยนค่าของตัวแปรนั้นๆได้ 

ตัวอย่างด้านบน มีการใส่หมายเหตุ ตามหลังการประกาศใช้งานตัวแปร โดยการใส่เครื่องหมายทับ สองตัว (forward slashes)

คอนโซล

คำสั่งที่ใช้ในการตรวจสอบและแสดงผลค่าต่างๆ โดยการเรียกใช้ อ็อบเจกต์

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

Tags:

จาวาสคริปต์ ประวัติจาวาสคริปต์ เครื่องหมายการค้าจาวาสคริปต์ การใช้งานจาวาสคริปต์ ดูเพิ่มจาวาสคริปต์ อ้างอิงจาวาสคริปต์ภาษาสคริปต์ภาษาอังกฤษภาษาโปรแกรมแบบโพรโทไทป์หน้าเว็บ

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)แวมไพร์ ทไวไลท์หน่วยบัญชาการนาวิกโยธินณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์พระยศเจ้านายไทยประเทศไทยประเทศแคนาดาทุเรียนยุทธนา ลอพันธุ์ไพบูลย์รายชื่อธนาคารในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลคริสตัลพาเลซไลแคน (บอยแบนด์)ประเทศคาซัคสถานพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยไทยลีก 3บรรดาศักดิ์ไทยสนุกเกอร์จังหวัดนครสวรรค์ผ่าพิภพไททันฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024นาฬิกาหกชั่วโมงอภิวัชร์ เอื้อถาวรสุขไทยลีก 2 ฤดูกาล 2566–67ประเทศบรูไนจัน ดารา (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)จังหวัดของประเทศญี่ปุ่นจังหวัดบุรีรัมย์ราณี แคมเปนสังโยชน์แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าFรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทยรายการรหัสไปรษณีย์ไทยมหาวิทยาลัยทักษิณสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีน้ำอสุจิประเทศมัลดีฟส์รามาวดี นาคฉัตรีย์สำราญ นวลมาเดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทรบอดี้การ์ดหน้าเหลี่ยมสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์สุชาติ ชมกลิ่นประวัติศาสตร์จีนระบบสุริยะคณะรัฐมนตรีไทยโรงเรียนนายร้อยตำรวจสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ดจังหวัดพิษณุโลกวันแรงงานคณะองคมนตรีไทยพฤษภาคมนาตาชา จุลานนท์ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิชอลิชา หิรัญพฤกษ์เกย์ประเทศแอฟริกาใต้รายชื่อตอนในโปเกมอนปรีชาพล พงษ์พานิชรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานครไบเออร์ 04 เลเวอร์คูเซินวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยอัสซะลามุอะลัยกุมประเทศรัสเซียณัฏฐณิชา ดังวัธนาวณิชย์ภาคกลาง (ประเทศไทย)หมายเลขโทรศัพท์ในประเทศไทยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จนกว่าจะได้รักกันหิรัญกฤษฎิ์ ช่างคำชลน่าน ศรีแก้ววัลลภ เจียรวนนท์ภูมิภาคของประเทศไทยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารีเจ้าหญิงดิสนีย์อนุทิน ชาญวีรกูลดอลลาร์สหรัฐ🡆 More