วลาดีวอสตอค

วลาดีวอสตอค (รัสเซีย: Владивосток, อักษรโรมัน: Vladivostok, สัทอักษรสากล:  ( ฟังเสียง), แปลตรงตัว: 'ผู้ปกครองแห่งตะวันออก') เป็นเมืองขนาดใหญ่ทางด้านทิศตะวันออกของประเทศรัสเซีย ริมอ่าวโกลเดนฮอร์น ไม่ไกลจากพรมแดนจีนและเกาหลีเหนือ ประชากรในปี ค.ศ.

จำนวน 592,034 คน ลดลงจากเมื่อปี ค.ศ. 2002 ที่มี 594,701 คน เป็นเมืองท่าที่สำคัญ และเป็นจุดสิ้นสุดของทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย

วลาดีวอสตอค

Владивосток
City
ธงของวลาดีวอสตอค
ธง
ตราราชการของวลาดีวอสตอค
ตราอาร์ม
ที่ตั้งของวลาดีวอสตอค
วลาดีวอสตอคตั้งอยู่ในรัสเซีย
วลาดีวอสตอค
วลาดีวอสตอค
ที่ตั้งของวลาดีวอสตอค
วลาดีวอสตอคตั้งอยู่ในดินแดนปรีมอร์สกี
วลาดีวอสตอค
วลาดีวอสตอค
วลาดีวอสตอค (ดินแดนปรีมอร์สกี)
พิกัด: 43°7′N 131°54′E / 43.117°N 131.900°E / 43.117; 131.900
ประเทศรัสเซีย
หน่วยองค์ประกอบดินแดนปรีมอร์เย
สถาปนา2 กรกฎาคม ค.ศ. 1860
จัดตั้งเป็นCity22 เมษายน ค.ศ. 1880
การปกครอง
 • องค์กรDuma
 • Headโอเลก กูเมนยุค
พื้นที่
 • ทั้งหมด331.16 ตร.กม. (127.86 ตร.ไมล์)
ความสูง8 เมตร (26 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโนครัวปี 2010)
 • ทั้งหมด592,034 คน
 • ประมาณ 
(2018)
604,901 (+2.2%) คน
 • อันดับที่22 ในปี 2010
 • ความหนาแน่น1,800 คน/ตร.กม. (4,600 คน/ตร.ไมล์)
สถานะการบริหาร
 • เขตย่อยของVladivostok City Under Krai Jurisdiction
 • เมืองศูนย์กลางทางการบริหารของPrimorsky Krai, Vladivostok City Under Krai Jurisdiction
สถานะเทศบาล
 • เขตเมืองVladivostoksky Urban Okrug
 • เมืองศูนย์กลางทางการบริหารของVladivostoksky Urban Okrug
รหัสไปรษณีย์690xxx
รหัสโทรศัพท์+7 423
รหัส OKTMO05701000001
วันCityวันอาทิตย์แรกของเดือนกรกฎาคม
เว็บไซต์www.vlc.ru

ภูมิอากาศ

ข้อมูลภูมิอากาศของวลาดีวอสตอค
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 5.0
(41)
9.9
(49.8)
15.2
(59.4)
22.7
(72.9)
29.5
(85.1)
31.8
(89.2)
33.6
(92.5)
33.0
(91.4)
30.0
(86)
23.4
(74.1)
17.5
(63.5)
9.4
(48.9)
33.6
(92.5)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) -8.1
(17.4)
-4.2
(24.4)
2.2
(36)
9.9
(49.8)
14.8
(58.6)
17.8
(64)
21.1
(70)
23.2
(73.8)
19.8
(67.6)
12.9
(55.2)
3.1
(37.6)
-5.1
(22.8)
9.0
(48.2)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) -12.3
(9.9)
-8.4
(16.9)
-1.9
(28.6)
5.1
(41.2)
9.8
(49.6)
13.6
(56.5)
17.6
(63.7)
19.8
(67.6)
16.0
(60.8)
8.9
(48)
-0.9
(30.4)
-9.1
(15.6)
4.9
(40.8)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) -15.4
(4.3)
-11.6
(11.1)
-4.9
(23.2)
2.0
(35.6)
6.7
(44.1)
11.1
(52)
15.6
(60.1)
17.7
(63.9)
13.1
(55.6)
5.9
(42.6)
-3.8
(25.2)
-11.9
(10.6)
2.0
(35.6)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) −31.4
(-24.5)
−28.9
(-20)
−22.0
(-8)
−8.1
(17.4)
−0.8
(30.6)
3.7
(38.7)
8.8
(47.8)
10.1
(50.2)
2.2
(36)
−9.7
(14.5)
−23.0
(-9)
−28.1
(-18.6)
−31.4
(−24.5)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 14
(0.55)
15
(0.59)
27
(1.06)
48
(1.89)
81
(3.19)
110
(4.33)
164
(6.46)
156
(6.14)
119
(4.69)
59
(2.32)
29
(1.14)
18
(0.71)
840
(33.07)
ความชื้นร้อยละ 58 57 60 67 76 87 92 87 77 65 60 60 71
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 0.3 0.3 4 13 20 22 22 19 14 12 5 1 133
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย 7 8 11 4 0.3 0 0 0 0 1 7 9 47
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 176.7 186.5 217.0 192.0 198.4 129.0 120.9 148.8 198.0 204.6 168.0 155.0 2,094.9
แหล่งที่มา 1: Pogoda.ru.net
แหล่งที่มา 2: หอสังเกตการณ์ฮ่องกง (sun, 1961-1990)

การคมนาคม

วลาดีวอสตอค 
สถานีรถไฟวลาดีวอสตอค จุดสิ้นสุดทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย
วลาดีวอสตอค 
ถนนสเว็ตลันสกายา ใจกลางเมืองวลาดีวอสตอค

วลาดีวอสตอค เป็นจุดเริ่มต้นทางหลวงแผ่นดินเหมายเลขเอ็ม 60 มุ่งหน้าสู่เมืองคาบารอฟสค์ จุดสิ้นสุดทางด้านทิศตะวันออกของทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย ซึ่งมุ่งหน้าไปยังกรุงมอสโกและเซนต์ปีเตอส์เบิร์กได้ ส่วนทางหลวงแผ่นดินสายอื่น ๆ จะมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออกและทิศใต้

ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย ถูกสร้างขึ้นเพื่อเชื่อมต่อระหว่างรัสเซียตะวันตกกับรัสเซียตะวันออก โดยสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1905 ผ่านเมืองสำคัญหลายแห่ง นอกจากนี้ยังมีทางรถไฟสายย่อย เช่น ทางรถไฟสายจีนตะวันออก ซึ่งผ่านเมืองฮาร์บิน

ท่าอากาศยานวลาดีวอสตอคให้บริการเที่ยวบินไปยังประเทศญี่ปุ่น ประเทศจีน ประเทศเกาหลีเหนือ ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเวียดนาม

ระบบขนส่งมวลชน

วันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1908 ได้มีการเปิดเดินรถรางสายแรก จากสถานีรถไฟวลาดีวอสตอค ไปตามถนนสเวตลันสกายา และในวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1912 รถยนต์ไม้คันแรก (ผลิตในเบลเยียม) ก็เปิดให้บริการ ระบบขนส่งมวลชนที่สำคัญในวลาดีวอสตอค ได้แก่ รถโดยสาร รถไฟ รถราง เรือเฟอรี

ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ

เมืองพี่น้อง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • แม่แบบ:RussiaAdmMunRef/pri/admlaw
  • แม่แบบ:RussiaAdmMunRef/pri/munlist/vladivostoksky
  • Faulstich, Edith. M. "The Siberian Sojourn" Yonkers, N.Y. (1972–1977)
  • Poznyak, Tatyana Z. 2004. Foreign Citizens in the Cities of the Russian Far East (the second half of the 19th and 20th centuries). Vladivostok: Dalnauka, 2004. 316 p. (ISBN 5-8044-0461-X).
  • Stephan, John. 1994. The Far East a History. Stanford: Stanford University Press, 1994. 481 p.
  • Trofimov, Vladimir et al., 1992, Old Vladivostok. Utro Rossii Vladivostok, ISBN 5-87080-004-8

แหล่งข้อมูลอื่น

Tags:

วลาดีวอสตอค ภูมิอากาศวลาดีวอสตอค การคมนาคมวลาดีวอสตอค ความสัมพันธ์กับต่างประเทศวลาดีวอสตอค ดูเพิ่มวลาดีวอสตอค อ้างอิงวลาดีวอสตอค แหล่งข้อมูลอื่นวลาดีวอสตอคRu-Владивосток.ogaการแปลตรงตัวจีนทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรียประเทศรัสเซียภาษารัสเซียเกาหลีเหนือไฟล์:Ru-Vladivostok.ogg

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

คณาวุฒิ ไตรพิพัฒนพงษ์จังหวัดปราจีนบุรีรายชื่อสมาชิกบีเอ็นเคโฟร์ตีเอตชานน สันตินธรกุลประเทศแคนาดาเทศน์ เฮนรี ไมรอนมหาวิทยาลัยกรุงเทพพระมหากษัตริย์ไทย69 (ท่วงท่าเพศสัมพันธ์)พรนับพัน พรเพ็ญพิพัฒน์ประเทศสิงคโปร์อีเอฟแอลแชมเปียนชิปคาราบาววันมูหะมัดนอร์ มะทารายชื่อมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทยเรียงตามการสถาปนาลูซิเฟอร์4 KINGS อาชีวะ ยุค 90มหาวิทยาลัยรามคำแหงโหราศาสตร์ไทยพชร จิราธิวัฒน์สมาคมกีฬาโรมากีบ (สกุลเงิน)ประเทศอิตาลีสุภาพบุรุษจุฑาเทพสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแจ็กสัน หวังนพเก้า เดชาพัฒนคุณเพิ่มพูน ชิดชอบทวี ไกรคุปต์Face Off แฝดคนละฝาจ้าว ลู่ซือประเทศมาเลเซียรายชื่อช่องที่มียอดติดตามสูงสุดในยูทูบรามาวดี นาคฉัตรีย์สินจัย เปล่งพานิชสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจังหวัดพิษณุโลกสโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์นามสกุลพระราชทานกรมการปกครองโครงการเติมเงินผ่านกระเป๋าเงินดิจิทัล 10,000 บาทอมีนา พินิจไผ่ ลิกค์พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรรถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยาน้ำอสุจิเพลิงพรางเทียนจังหวัดนครศรีธรรมราชวรรณี เจียรวนนท์ รอสส์วัลลภ เจียรวนนท์สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีประเทศไทยไค ฮาเวิทซ์ลิโอเนล เมสซิจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)เนย์มาร์ธงประจำพระองค์คณะรัฐมนตรีไทยเจริญ สิริวัฒนภักดีคิม จี-ว็อน (นักแสดง)ธีรเดช เมธาวรายุทธเปรม ติณสูลานนท์วันชนะ สวัสดีองศาเซลเซียสพิชชาภา พันธุมจินดาจังหวัดปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พาทิศ พิสิฐกุลกวนอิมกองบัญชาการตำรวจนครบาลสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีรายชื่อสัตว์ภาษาเกาหลีญินสหรัถ สังคปรีชามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยประเทศเยอรมนี🡆 More