ราชวงศ์ซาฟาวิด

ราชวงศ์ซาฟาวิยะห์ (เปอร์เซีย: صفویان; อาเซอร์ไบจาน: صفوی‌لر; จอร์เจีย: სეფიანთა დინასტია; อังกฤษ: Safavid dynasty) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่ปกครองอิหร่านในอดีต ราชวงศ์ซาฟาวิยะห์ปกครองจักรวรรดิอันยิ่งใหญ่ที่สุดจักรวรรดิหนึ่งตั้งแต่การพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียของอิสลาม (Islamic conquest of Persia) เป็นต้นมา และเป็นผู้ก่อตั้ง “Ithnāˤashari” (อิมามชีอะหฺ) ซึ่งเป็นลัทธิทางการของจักรวรรดิ ซึ่งเป็นจุดสำคัญของประวัติศาสตร์ของศาสนาอิสลาม ราชวงศ์ซาฟาวิยะห์มาจากหลายเผ่าพันธุ์ (ชาวอาเซอร์ไบจาน,ชาวเซอร์คาสเซียน/ชาวจอร์เจีย, ชาวกรีก,ชาวเคิร์ด) และมีอำนาจปกครองอิหร่านระหว่างปี ค.ศ.

1501">ค.ศ. 1501/ค.ศ. 1502 มาจนถึงกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1722

จักรวรรดิซาฟาวิด

  • ملک وسیع‌الفضای ایران
    The Expansive Realm of Iran
  • مملکت ایران
    The Country of Iran
ค.ศ. 1501ค.ศ. 1736
ธงชาติซาฟาวิยะห์
ธงซาฟาวิยะห์
ของซาฟาวิยะห์
ตราแผ่นดิน
จักรวรรดิซาฟาวิยะห์
จักรวรรดิซาฟาวิยะห์
สถานะจักรวรรดิ
เมืองหลวงทาบริซ, Qazvin, เอสฟาฮาน
ภาษาทั่วไปเปอร์เซีย (ทางการ) และ อาเซอร์ไบจาน (ราชสำนัก, ผู้นำทางศาสนา, การทหาร)
ศาสนา
อิมามชีอะหฺ
การปกครองราชาธิปไตย
ชาห์ 
• ค.ศ. 1501–1524
ชาห์อิสมาอิลที่ 1
• ค.ศ. 1524–1576
ชาห์ทามาสพ์ที่ 1
• ค.ศ. 1587–1629
ชาห์อับบาสที่ 1
• ค.ศ. 1732–1736
ชาห์อับบาสที่ 3
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง ลัทธิซูฟีย์
ค.ศ. 1301
• ก่อตั้ง
ค.ศ. 1501
• การรุกรานของโฮทาคิ
ค.ศ. 1722
• ยึดคืนได้ในสมัยของนาเดอร์ อาฟชาร์
ค.ศ. 1726ค.ศ. 1729
• สิ้นสุด
ค.ศ. 1736
• นาเดอร์ อาฟชาร์สวมมงกุฎเป็นชาห์
8 มีนาคม ค.ศ. 1736
พื้นที่
2,850,000 ตารางกิโลเมตร (1,100,000 ตารางไมล์)
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชวงศ์ซาฟาวิด จักรวรรดิตีมูร์
ราชวงศ์ซาฟาวิด Ak Koyunlu
ราชวงศ์โฮทาคิ ราชวงศ์ซาฟาวิด
จักรวรรดิอาฟชาริยะห์ ราชวงศ์ซาฟาวิด
จักรวรรดิรัสเซีย ราชวงศ์ซาฟาวิด
จักรวรรดิออตโตมัน ราชวงศ์ซาฟาวิด
ประวัติศาสตร์อิหร่านแผ่นดินใหญ่
Faravahar background
กษัตริย์แห่งเปอร์เชีย
ก่อนยุคใหม่
ก่อน อิสลาม
ก่อนคริสต์ศักราช
ก่อนประวัติศาสตร์
วัฒนธรรมก่อนเอลาไมท์ 3200–2800
จักรวรรดิเอลาไมท์ 2800–550
แหล่งโบราณคดีบัคเตรีย-มาร์เกียนา 2200–1700
ราชอาณาจักรมานไน ศตวรรษที่ 10-7
จักรวรรดิมีเดีย 728–550
จักรวรรดิอคีเมนียะห์ 550–330
จักรวรรดิซิลูซิด 330–150
ราชอาณาจักรกรีก-บัคเตรีย 250-125
จักรวรรดิพาร์เธีย 248–ค.ศ.  224
หลังคริสต์ศักราช
จักรวรรดิกุษาณะ 30–275
จักรวรรดิซาสซานิยะห์ 224–651
จักรวรรดิเฮพธาไลท์ 425–557
เฮพธาไลท์-กุษาณะ 565–670
หลัง อิสลาม
อาณาจักรกาหลิป 637–651
จักรวรรดิอุมัยยะฮ์ 661–750
จักรวรรดิอับบาซียะฮ์ 750–1258
จักรวรรดิทาฮิริยะห์ 821–873
ราชวงศ์อาลาวิยะห์ 864–928
จักรวรรดิซัฟฟาริยะห์ 861–1003
จักรวรรดิซามานิยะห์ 819–999
จักรวรรดิไซยาริยะห์ 928–1043
จักรวรรดิไบอิยะห์ 934–1055
จักรวรรดิกาสนาวิยะห์ 975–1187
จักรวรรดิกอร์ 1149–1212
จักรวรรดิเซลจุค 1037–1194
จักรวรรดิควาเรซเมีย 1077–1231
ราชวงศ์คาร์ติยะห์ 1231-1389
จักรวรรดิข่านอิล 1256–1353
ราชวงศ์มุซาฟฟาริยะห์ 1314–1393
ราชวงศ์จุพานิยะห์ 1337–1357
ราชวงศ์จาไลยิริยะห์ 1339–1432
ราชวงศ์เตมือร์ 1370–1506
คารา โคยันลู เตอร์โคมันส์ 1407–1468
อัค โคยันลู เตอร์โคมันส์ 1378–1508
จักรวรรดิซาฟาวิยะห์ 1501–1722*
จักรวรรดิโมกุล 1526–1857
ราชวงศ์โฮทาคิ 1722–1738
จักรวรรดิอาฟชาริยะห์ 1736–1750
* หรือ 1736
ยุคใหม่
สสซ = สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
จักรวรรดิดุรรานี 1747–1823
เอมิเรตอัฟกานิสถาน 1823–1929
อิทธิพลของบริติชและรัสเซีย 1826–1919
อิสรภาพและสงครามกลางเมือง 1919–1929
สมัยปกครองของมุฮัมมัดเมดไซ 1929–1973
สาธารณรัฐอัฟกานิสถาน 1973–1978
สาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน 1978–1992
ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานสมัยปัจจุบัน ตั้งแต่ 1992
ลำดับเหตุการณ์
อาณาจักรข่านแห่งคอเคซัส 1722–1828
ภายใต้การปกครองของรัสเซีย 1828–1917
สาธารณรัฐประชาธิปไตย 1918–1920
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต 1920–1991
สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน ตั้งแต่ 1991
ราชวงศ์ซานด์ 1750–1794
ราชวงศ์กอญัร 1781–1925
ราชวงศ์ปาห์ลาวี 1925–1979
การปฏิวัติอิหร่าน 1979
รัฐบาลชั่วคราว 1979
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน ตั้งแต่ 1979
อีรักออตโตมัน 1632–1919
กษัตริย์ฮาชิไมท์ 1920–1958
การปฏิวัติและสาธารณรัฐ 1958–2003
สาธารณรัฐอิรัก ตั้งแต่ 2004
เอมิเรตบูคารา 1785–1920
สาธารณรัฐประชาชนโซเวียตบุฮารา / อุซเบก 1920–1929
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอิสระทาจิก 1929
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก 1929–1991
สาธารณรัฐทาจิกิสถาน ตั้งแต่ 1991

ราชวงศ์ซาฟาวิยะห์มีรากฐานมาจากการก่อตั้งลัทธิซูฟีย์ (Safaviya sufi order) ในเมืองอาร์ดาบิล (Ardabil) ในบริเวณอาเซอร์ไบจานของอิหร่าน จากนั้นราชวงศ์ซาฟาวิยะห์ก็ขยายอิทธิพลออกไปอย่างกว้างขวางจนสามารถครอบครองจักรวรรดิเปอร์เซียได้ทั้งหมด และริเริ่มการก่อตั้งวัฒนธรรมของความเป็นอิหร่านในบริเวณที่ปกครอง ราชวงศ์ซาฟาวิยะห์จึงกลายเป็นราชวงศ์แรกของอิหร่านตั้งแต่ซาสซานิยะห์ที่เริ่มการรวบรวมอิหร่านเข้าเป็นรัฐที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

แม้ว่าการปกครองของราชวงศ์ซาฟาวิยะห์จะสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1736 แต่ก็ได้ทิ้งร่องรอยมาจนถึงสมัยปัจจุบันโดยการก่อตั้งและเผยแพร่ชีอะหฺในบริเวณส่วนใหญ่ของคอเคซัส และเอเชียตะวันออกและโดยเฉพาะในอิหร่านเอง

ประวัติศาสตร์

ดูเพิ่ม

อ้างอิง


Tags:

การพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียของอิสลามค.ศ. 1501ค.ศ. 1502ค.ศ. 1722ชาวกรีกชาวอาเซอร์ไบจานชาวเคิร์ดภาษาจอร์เจียภาษาอังกฤษภาษาอาเซอร์ไบจานภาษาเปอร์เซียอิมามชีอะหฺอิหร่าน

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

ไทยจังหวัดปราจีนบุรีคณะองคมนตรีไทยชวลิต ยงใจยุทธภาคเหนือ (ประเทศไทย)ภูธเนศ หงษ์มานพวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารจ๊ะ นงผณีการ์ตูนประเทศอินเดียพรรคก้าวไกลกบฏเจ้าอนุวงศ์กองทัพภาคที่ 1จังหวัดนนทบุรีจังหวัดชุมพรGenwit อัจฉริยะพันธุ์ใหม่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถสุรยุทธ์ จุลานนท์อนาคามีพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2024จัน ดารา (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)การแข่งขันระหว่างสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลกับสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดจังหวัดปทุมธานีสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดาต่อศักดิ์ สุขวิมลมหาศึกชิงบัลลังก์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์)ชวน หลีกภัยพุฒิพงศ์ อัสสรัตนกุลโลก (ดาวเคราะห์)เมลดา สุศรีรายชื่อธนาคารในประเทศไทยภูมิภาคของประเทศไทยเทพมรณะพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาบาป 7 ประการและสิ่งสุดท้ายสี่อย่างตระกูลเจียรวนนท์ธนาคารแห่งประเทศไทยข่าวช่อง 7HDกัญญาวีร์ สองเมืองพรรษา วอสเบียนพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรวิธวัฒน์ สิงห์ลำพองอนิเมะชญานิษฐ์ ชาญสง่าเวชกองทัพ พีคจังหวัดราชบุรีจังหวัดกาฬสินธุ์เดอะพาวเวอร์พัฟฟ์เกิลส์สัปเหร่อ (ภาพยนตร์)ยากูซ่าประเทศโมนาโก69 (ท่วงท่าเพศสัมพันธ์)จังหวัดมหาสารคามคนลึกไขปริศนาลับจังหวัดสุราษฎร์ธานีร่างทรง (ภาพยนตร์)ตะวันฉาย พี.เค.แสนชัยมวยไทยยิมยิ่งลักษณ์ ชินวัตรเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกโดราเอมอนคณาวุฒิ ไตรพิพัฒนพงษ์จิรายุ ตั้งศรีสุขกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)รายชื่อค่ายทหารในสังกัดกองทัพบกไทยจัน ดารา (ภาพยนตร์ทวิภาค)จังหวัดสงขลาจักรราศีสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ลภัสลัล จิรเวชสุนทรกุลคำอุปสรรคเอสไอการรถไฟแห่งประเทศไทยต่าย อรทัยรณิดา เตชสิทธิ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี🡆 More