จักรวรรดิพาร์เธีย

จักรวรรดิพาร์เธีย (อังกฤษ: Parthian Empire) หรือ จักรวรรดิอาร์ซาซิยะห์ (Arsacid Empire) เป็นจักรวรรดิที่ดำรงอยู่ระหว่าง 247 ปีก่อนคริสตกาล – ค.ศ.

224 ตั้งอยู่ในดินแดนของประเทศอิหร่านในปัจจุบัน มีเมืองหลวงได้แก่ เทสิฟอน เอกแบตานา และซูซา จักรวรรดินี้สถาปนาโดยอาร์ซาซีสที่ 1 หลังพระองค์พิชิตภูมิภาคพาร์เธียได้ในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ก่อนจะเริ่มแผ่ขยายอำนาจในรัชสมัยมิทริเดทีสที่ 1 เมื่อพระองค์ยึดมีเดียและเมโสโปเตเมียจากจักรวรรดิซิลูซิด จักรวรรดิพาร์เธียในยุครุ่งเรืองถึงขีดสุดครอบครองพื้นที่ตั้งแต่ตะวันออกเฉียงใต้ของอานาโตเลีย เมโสโปเตเมีย บางส่วนของคาบสมุทรอาหรับ ที่ราบสูงอิหร่าน ไปจนจรดแม่น้ำสินธุ และเป็นศูนย์กลางทางการค้าและวัฒนธรรมเนื่องจากอยู่ในเส้นทางสายไหมที่เชื่อมระหว่างจักรวรรดิโรมันกับราชวงศ์ฮั่นของจีน

จักรวรรดิพาร์เธีย

247 BC–224 AD
จักรวรรดิพาร์เธียในยุคที่รุ่งเรืองที่สุด
จักรวรรดิพาร์เธียในยุคที่รุ่งเรืองที่สุด
เมืองหลวง
  • เทสิฟอน
  • เอกแบตานา
  • เฮกาทอมพีลอส
  • ซูซา
  • มิทราแดตเคิร์ต
  • อะซาอัก
  • เรจีส
ภาษาทั่วไป
ศาสนา
การปกครองราชาธิปไตย
ชาฮันชาห์ 
• 247–211 BC
อาร์ซาซีสที่ 1 (แรก)
• 208–224 AD
อาร์ตาบานัสที่ 4 (สุดท้าย)
สภานิติบัญญัติMegisthanes
ยุคประวัติศาสตร์สมัยคลาสสิก
• ก่อตั้ง
247 BC
• สิ้นสุด
224 AD
พื้นที่
1 AD2,800,000 ตารางกิโลเมตร (1,100,000 ตารางไมล์)
สกุลเงินDrachma
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิพาร์เธีย จักรวรรดิซิลูซิด
จักรวรรดิแซสซานิด จักรวรรดิพาร์เธีย
จักรวรรดิกุษาณะ จักรวรรดิพาร์เธีย
ประวัติศาสตร์อิหร่านแผ่นดินใหญ่
Faravahar background
กษัตริย์แห่งเปอร์เชีย
ก่อนยุคใหม่
ก่อน อิสลาม
ก่อนคริสต์ศักราช
ก่อนประวัติศาสตร์
วัฒนธรรมก่อนเอลาไมท์ 3200–2800
จักรวรรดิเอลาไมท์ 2800–550
แหล่งโบราณคดีบัคเตรีย-มาร์เกียนา 2200–1700
ราชอาณาจักรมานไน ศตวรรษที่ 10-7
จักรวรรดิมีเดีย 728–550
จักรวรรดิอคีเมนียะห์ 550–330
จักรวรรดิซิลูซิด 330–150
ราชอาณาจักรกรีก-บัคเตรีย 250-125
จักรวรรดิพาร์เธีย 248–ค.ศ.  224
หลังคริสต์ศักราช
จักรวรรดิกุษาณะ 30–275
จักรวรรดิซาสซานิยะห์ 224–651
จักรวรรดิเฮพธาไลท์ 425–557
เฮพธาไลท์-กุษาณะ 565–670
หลัง อิสลาม
อาณาจักรกาหลิป 637–651
จักรวรรดิอุมัยยะฮ์ 661–750
จักรวรรดิอับบาซียะฮ์ 750–1258
จักรวรรดิทาฮิริยะห์ 821–873
ราชวงศ์อาลาวิยะห์ 864–928
จักรวรรดิซัฟฟาริยะห์ 861–1003
จักรวรรดิซามานิยะห์ 819–999
จักรวรรดิไซยาริยะห์ 928–1043
จักรวรรดิไบอิยะห์ 934–1055
จักรวรรดิกาสนาวิยะห์ 975–1187
จักรวรรดิกอร์ 1149–1212
จักรวรรดิเซลจุค 1037–1194
จักรวรรดิควาเรซเมีย 1077–1231
ราชวงศ์คาร์ติยะห์ 1231-1389
จักรวรรดิข่านอิล 1256–1353
ราชวงศ์มุซาฟฟาริยะห์ 1314–1393
ราชวงศ์จุพานิยะห์ 1337–1357
ราชวงศ์จาไลยิริยะห์ 1339–1432
ราชวงศ์เตมือร์ 1370–1506
คารา โคยันลู เตอร์โคมันส์ 1407–1468
อัค โคยันลู เตอร์โคมันส์ 1378–1508
จักรวรรดิซาฟาวิยะห์ 1501–1722*
จักรวรรดิโมกุล 1526–1857
ราชวงศ์โฮทาคิ 1722–1738
จักรวรรดิอาฟชาริยะห์ 1736–1750
* หรือ 1736
ยุคใหม่
สสซ = สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
จักรวรรดิดุรรานี 1747–1823
เอมิเรตอัฟกานิสถาน 1823–1929
อิทธิพลของบริติชและรัสเซีย 1826–1919
อิสรภาพและสงครามกลางเมือง 1919–1929
สมัยปกครองของมุฮัมมัดเมดไซ 1929–1973
สาธารณรัฐอัฟกานิสถาน 1973–1978
สาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน 1978–1992
ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานสมัยปัจจุบัน ตั้งแต่ 1992
ลำดับเหตุการณ์
อาณาจักรข่านแห่งคอเคซัส 1722–1828
ภายใต้การปกครองของรัสเซีย 1828–1917
สาธารณรัฐประชาธิปไตย 1918–1920
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต 1920–1991
สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน ตั้งแต่ 1991
ราชวงศ์ซานด์ 1750–1794
ราชวงศ์กอญัร 1781–1925
ราชวงศ์ปาห์ลาวี 1925–1979
การปฏิวัติอิหร่าน 1979
รัฐบาลชั่วคราว 1979
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน ตั้งแต่ 1979
อีรักออตโตมัน 1632–1919
กษัตริย์ฮาชิไมท์ 1920–1958
การปฏิวัติและสาธารณรัฐ 1958–2003
สาธารณรัฐอิรัก ตั้งแต่ 2004
เอมิเรตบูคารา 1785–1920
สาธารณรัฐประชาชนโซเวียตบุฮารา / อุซเบก 1920–1929
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอิสระทาจิก 1929
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก 1929–1991
สาธารณรัฐทาจิกิสถาน ตั้งแต่ 1991

247 ปีก่อนคริสตกาล อาร์ซาซีสที่ 1 ขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งชาวปาร์ไน ซึ่งเป็นชนชาวอิหร่านตะวันออกที่อาศัยอยู่แถบทะเลแคสเปียน ในปี 238 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์รบชนะแอนดราโกรัส หนึ่งในเซแทร็ปของจักรวรรดิซิลูซิดและครอบครองพาร์เธีย แต่ต่อมาพาร์เธียถูกพระเจ้าแอนทิโอคัสมหาราชยึดคืน สงครามระหว่างซิลูซิดและพาร์เธียจบลงช่วงสั้น ๆ เมื่ออาร์ซาซีสที่ 2 ยอมสงบศึกและอยู่ใต้อำนาจพระเจ้าแอนทิโอคัส ต่อมาในปี 148–147 ปีก่อนคริสตกาล มิทริเดทีสที่ 1 แห่งพาร์เธียโจมตีภูมิภาคมีเดีย บาบิโลเนีย และเมโสโปเตเมียของซิลูซิดที่กำลังสั่นคลอนเพราะเกิดกบฏ ในช่วงเวลานี้จักรวรรดิพาร์เธียผูกมิตรกับราชวงศ์ฮั่น อาณาจักรอินโด-พาร์เธีย และจักรวรรดิกุษาณะเพื่อรักษาเขตแดนด้านตะวันออก ในขณะที่เขตแดนด้านตะวันตกเผชิญกับการเข้ามาของสาธารณรัฐโรมันที่กำลังทำสงครามกับพอนตัส ในสงครามมิทริเดทีสครั้งที่สาม ฟาร์อาเตสที่ 3 ช่วยเหลือปอมปีย์ กงสุลโรมันด้วยการบุกอาร์มีเนียของสมเด็จพระเจ้าไทกราเนสมหาราช แต่หลังจากนั้นเกิดความขัดแย้งระหว่างโอรสสองพระองค์ของฟาร์อาเตสคือ โอโรดีสที่ 2 กับมิทริเดทีสที่ 4 เมื่อมิทริเดทีสถูกสังหาร โรมันผู้เป็นพันธมิตรของมิทริเดทีสจึงยกทัพมาสู้กับโอโรดีสในยุทธการที่คาร์เรในปี 53 ปีก่อนคริสตกาล ยุทธการครั้งนี้เป็นการสู้รบครั้งแรก ๆ ในสงครามโรมัน–พาร์เธียที่กินเวลายาวนานเกือบ 200 ปี การสู้รบจบลงด้วยความพ่ายแพ้อย่างย่อยยับของฝ่ายโรมันและแม่ทัพมาร์กุส ลิกินิอุส กรัสซุสถูกสังหาร เนื่องจากกรัสซุสเป็นหนึ่งในคณะสามผู้นำที่หนึ่ง หรือพันธมิตรระหว่างผู้มีอำนาจสูงสุดในโรม 3 คน การเสียชีวิตของเขาจึงส่งผลให้คณะสามผู้นำที่เหลือคือ ปอมปีย์กับจูเลียส ซีซาร์หันมาต่อสู้กันเอง นำไปสู่สงครามกลางเมืองซีซาร์ที่เกิดขึ้นระหว่าง 49–45 ปีก่อนคริสตกาล

ราว 20 ปีก่อนคริสตกาล พาร์เธียและโรมันตกลงที่จะสงบศึก แต่หลังจากเกิดความขัดแย้งในการปกครองราชอาณาจักรอาร์มีเนียซึ่งเปรียบเสมือนเป็นรัฐกันชนระหว่างสองจักรวรรดิ พาร์เธียและโรมันก็ทำสงครามกันอีกหลายครั้ง การสงครามกับโรมันที่ยาวนาน บวกกับความขัดแย้งภายในและการอุบัติของจักรวรรดิแซสซานิด ทำให้จักรวรรดิพาร์เธียอ่อนแอลง ในปี ค.ศ. 224 จักรวรรดิพาร์เธียล่มสลายหลังอาร์ดาชีร์ที่ 1 นำทัพแซสซานิดรบชนะและสังหารอาร์ตาบานัสที่ 4 แห่งพาร์เธียในยุทธการฮอร์มอซด์กัน และขับไล่โวโลกาซีสที่ 6 กษัตริย์พาร์เธียอีกพระองค์ออกจากเมโสโปเตเมียได้สำเร็จ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

33°05′37″N 44°34′51″E / 33.09361°N 44.58083°E / 33.09361; 44.58083

Tags:

คาบสมุทรอาหรับจักรวรรดิซิลูซิดจักรวรรดิโรมันซูซาที่ราบสูงอิหร่านประเทศอิหร่านภาษาอังกฤษราชวงศ์ฮั่นอานาโตเลียเมโสโปเตเมียเส้นทางสายไหมแม่น้ำสินธุ

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชณราวิชญ์ เลิศรัตน์โกสุมภ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีเสกสรรค์ ศุขพิมายมหาวิทยาลัยมหิดลมิถุนายนฟุตบอลทีมชาติไทยจังหวัดนครสวรรค์วชิรวิชญ์ วัฒนภักดีไพศาลมัณฑนา หิมะทองคำจังหวัดตราดวันแอนแซกไพ่แคงดาวิกา โฮร์เน่โดราเอมอนสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวีสายัณห์ สัญญาตะวันฉาย พี.เค.แสนชัยมวยไทยยิมอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งสมาคมกีฬาโรมาต่อศักดิ์ สุขวิมลสำราญ นวลมากรุงเทพมหานครและปริมณฑลเอาแล้วไง ยัยแฟนเก่าดันเป็นลูกสาวแม่ใหม่ณฐพร เตมีรักษ์จังหวัดพิษณุโลกเมอร์ซีย์ไซด์ดาร์บีไทใหญ่ภัทร เอกแสงกุลพัฒน์ชัย ภักดีสู่สุขกรมราชเลขานุการในพระองค์คดีพรหมพิรามวชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์รายชื่ออำเภอของประเทศไทยคำอุปสรรคเอสไอรายชื่อนายกรัฐมนตรีไทยราชวงศ์จักรีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์พ.ศ. 2567ตะวัน วิหครัตน์รายชื่อธนาคารในประเทศไทยไทยลีกพรรคก้าวไกลสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติเอลนีโญชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์อมีนา พินิจไททานิค (ภาพยนตร์)วิทยุเสียงอเมริการายชื่อนามสกุลที่ใช้กันมากเงินตราสโมสรกีฬาลัตซีโยรายชื่อยุทโธปกรณ์ในกองทัพบกไทยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)ไดโนเสาร์ข่าวช่อง 7HDฟุตซอลโลก 2021มหาเวทย์ผนึกมารธนาคารทหารไทยธนชาตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเนย์มาร์แอน ทองประสมสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีหนังสือรุ่นพลอยปานปรีย์ พหิทธานุกรสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์น้ำอสุจิสมเด็จพระเจ้าสุริเยนทราธิบดีอาลิง โฮลันณัฐวิญญ์ วัฒนกิติพัฒน์จิราพร สินธุไพรเยือร์เกิน คล็อพรอย อิงคไพโรจน์วรินทร ปัญหกาญจน์อักษรลาวมิตร ชัยบัญชาวิดีโอ🡆 More