ชาวตุรกี

ชาวตุรกี หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เติร์ก (ตุรกี: Türkler) เป็นกลุ่มชนเตอร์กิกที่มีจำนวนมากที่สุด พวกเขาพูดภาษาตุรกีในหลายสำเนียง และเป็นประชากรที่อาศัยในประเทศตุรกีกับนอร์เทิร์นไซปรัส นอกจากนี้ ยังมีชุมชนเชื้อสายเติร์กที่อาศัยอยู่ทั่วบริเวณที่เคยเป็นของจักรวรรดิออตโตมันด้วย

ชาวตุรกี
Türkler
ชาวตุรกี
แผนที่ชาวตุรกีทั่วโลก
ประชากรทั้งหมด
ป. 80 ล้านคน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ชาวตุรกี ตุรกี  60,000,000–65,000,000
ชาวตุรกี นอร์เทิร์นไซปรัส  315,000
ชาวตุรกีพลัดถิ่นสมัยใหม่: 
ชาวตุรกี เยอรมนี3,000,000 ถึงมากกว่า 7,000,000
ชาวตุรกี เนเธอร์แลนด์500,000 ถึงมากกว่า 2,000,000
ชาวตุรกี ฝรั่งเศสมากกว่า 1,000,000
ชาวตุรกี สหรัฐมากกว่า 1,000,000
ชาวตุรกี สหราชอาณาจักร500,000
ชาวตุรกี ออสเตรีย360,000–500,000
ชาวตุรกี เบลเยียม250,000–500,000
ชาวตุรกี ออสเตรเลีย320,000
ชาวตุรกี คาซัคสถาน250,000
ชาวตุรกี สวีเดน185,000
ชาวตุรกี รัสเซีย109,883–150,000
ชาวตุรกี อาเซอร์ไบจาน130,000
ชาวตุรกี สวิตเซอร์แลนด์120,000
ชาวตุรกี แคนาดามากกว่า 100,000
ชาวตุรกี เดนมาร์ก70,000–75,000
ชาวตุรกี คีร์กีซสถาน55,000
ชาวตุรกี อิตาลี50,000
ชาวตุรกี อุซเบกิสถาน25,000
ชาวตุรกี นอร์เวย์16,500
ชาวตุรกี ยูเครน8,844–15,000
ชาวตุรกี เติร์กเมนิสถาน13,000
ชาวตุรกี ฟินแลนด์10,000
ชาวตุรกี โปแลนด์5,000
ชาวตุรกี นิวซีแลนด์3,600–4,600
ชาวตุรกี ไอร์แลนด์2,000–3,000
ชาวตุรกี บราซิล2,000-3,000
ชาวตุรกี ลีชเทินชไตน์1,000
ชนกลุ่มน้อยตุรกีในตะวันออกกลาง: 
ชาวตุรกี อิรัก3,000,000–5,000,000
ชาวตุรกี ซีเรีย1,000,000–1,700,000
ชาวตุรกี ลิเบีย1,000,000–1,400,000
ชาวตุรกี อียิปต์100,000–1,500,000
ชาวตุรกี เลบานอน280,000
ชาวตุรกี ซาอุดีอาระเบีย270,000–350,000
ชาวตุรกี เยเมน10,000-100,000
ชาวตุรกี จอร์แดน50,000
ชนกลุ่มน้อยตุรกีในคาบสมุทรบอลข่าน: 
ภาษา
ตุรกี
ศาสนา
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม (ทั้งปฏิบัติและไม่ปฏิบัติ), ส่วนใหญ่นับถือนิกายซุนนี รองลงมาคือแอเลวี
ส่วนน้อยนับถือศาสนาคริสต์และยูดาห์
จำนวนมากไม่นับถือศาสนา
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ชาวอาเซอร์ไบจาน, ชาวเติร์กเมน

ชาวเติร์กอพยพจากเอเชียกลางมาตั้งถิ่นฐานที่อานาโตเลียในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ผ่านการพิชิตของจักรวรรดิเซลจุค นั่นถือเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคนี้ จากภูมิภาคที่ส่วนใหญ่พูดภาษากรีกหลังถูกแผลงเป็นกรีก ให้กลายเป็นมุสลิมเติร์ก จักรวรรดิออตโตมันครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของคาบสมุทรบอลข่าน, คอเคซัสใต้, ตะวันออกกลาง (ไม่รวมอิหร่าน ถึงแม้ว่าจะควบคุมบางส่วนก็ตาม) และแอฟริกาเหนือมาหลายศตวรรษจนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังสงครามประกาศอิสรภาพตุรกี ทำให้จักรวรรดิออตโตมันสิ้นสุดลงในวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1922 และประกาศเป็นสาธารณรัฐตุรกีในวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1923

รัฐธรรมนูญตุรกีมาตราที่ 66 ระบุ "ชาวเติร์ก" เป็น: "ใครก็ตามที่มีพันธะกับรัฐตุรกีผ่านการผูกสัญชาติ" คำอธิบายทางกฎหมายของ "ชาวเติร์ก" ในฐานะพลเมืองตุรกีมีความแตกต่างจากคำอธิบายทางชาติพันธุ์ โดยประชากรชาวตุรกีส่วนใหญ่ (ประมาณร้อยละ 70-75) มีเชื้อสายเติร์ก และประชากรชาวเติร์กจำนวนมากเป็นมุสลิม

อ้างอิง

บรรณานุกรม

อ่านเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ชาวตุรกี  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ชาวตุรกี

Tags:

ชาวตุรกี อ้างอิงชาวตุรกี บรรณานุกรมชาวตุรกี อ่านเพิ่มชาวตุรกี แหล่งข้อมูลอื่นชาวตุรกีกลุ่มชนเตอร์กิกจักรวรรดิออตโตมันนอร์เทิร์นไซปรัสประเทศตุรกีภาษาตุรกี

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

ไอริณ ศรีแกล้วประวัติศาสนาคริสต์ระบบสุริยะประเทศเวียดนามประเทศเกาหลีเหนือพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)ณัฐวิญญ์ วัฒนกิติพัฒน์รายชื่อตัวละครในยอดนักสืบจิ๋วโคนันมหาวิทยาลัยขอนแก่นเขตการปกครองของประเทศพม่าจังหวัดปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนาซิตี้ฮันเตอร์ฟุตซอลไทยลีก ฤดูกาล 2566ลภัสลัล จิรเวชสุนทรกุลสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ประเทศพม่าพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์เทย์เลอร์ สวิฟต์ไฟเยอโนร์ดจังหวัดกาญจนบุรีเจาะมิติพิชิตบัลลังก์อินดอร์ สเตเดียม หัวหมากไฮบ์คอร์ปอเรชันกองทัพเรือไทยมิถุนายน25 เมษายนอนิเมะปราโมทย์ ปาทานผ่าพิภพไททันพายุสุริยะเสรีพิศุทธ์ เตมียเวสเป็นต่อกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ดกรุงเทพมหานครไทโอยูเรียรางวัลนาฏราชปรียาดา สิทธาไชยทักษอร ภักดิ์สุขเจริญหม่ำ จ๊กมกลุค อิชิกาวะ พลาวเดนพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567อาเลฆันโดร การ์นาโชรายชื่อละครโทรทัศน์ทางช่อง 3 เอชดี (พ.ศ. 2560–2567)อะพอลโล 13มหาวิทยาลัยมหาสารคามคือเรารักกันมหาวิทยาลัยกรุงเทพจำนวนเฉพาะประเทศบังกลาเทศทวี ไกรคุปต์จังหวัดสระแก้วสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์พวงเพ็ชร ชุนละเอียดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหลิว เจียหลิงสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีชญานิษฐ์ ชาญสง่าเวชสโมสรฟุตบอลบีจี ปทุม ยูไนเต็ดประยุทธ์ จันทร์โอชาสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญาแมนสรวงสกูบี้-ดูรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/กนกกะรางหัวขวานภาวะโลกร้อนกรรชัย กำเนิดพลอยพรรคก้าวไกลป๊อกเด้งสโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์ไคลี เจนเนอร์🡆 More