ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา

ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา (เยอรมัน: Haus Sachsen-Coburg und Gotha) เป็นราชวงศ์เชื้อสายเยอรมัน เดิมมีถิ่นปกครองอยู่ในแคว้นซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา หนึ่งในเครือดัชชีแอร์เน็สท์ ซึ่งเคยตั้งอยู่ในบริเวณที่เป็นรัฐทือริงเงินและรัฐไบเอิร์นในปัจจุบัน ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทาถูกก่อตั้งโดยแอนสท์ อันโทน ดยุกที่ 6 แห่งซัคเซิน-โคบวร์ค-ซาลเฟ็ลท์ โดยแยกออกมาจากราชวงศ์เว็ททีน

ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา
ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา
พระราชอิสริยยศ
  • ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา
    (ค.ศ. 1826–1918)
  • กษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม
    (ค.ศ. 1831–1920)
  • กษัตริย์แห่งโปรตุเกสและอัลเกรฟ
    (ค.ศ. 1837–1910)
  • เจ้าชายแห่งบัลแกเรีย
    (ค.ศ. 1887–1908)
  • กษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรฯ
    (ค.ศ. 1901–1917)
  • จักรพรรดิแห่งอินเดีย
    (ค.ศ. 1901–1917)
  • ซาร์แห่งบัลแกเรีย
    (ค.ศ. 1908–1946)
ปกครอง
สาขา
  • วินด์เซอร์
  • ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา-โคฮารี
    • บรากังซา-ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา
    • ราชวงศ์บัลแกเรีย
  • ราชวงศ์เบลเยียม
ประมุขพระองค์แรกแอนสท์ที่ 1 ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา
ผู้นำสกุลองค์ปัจจุบันอันเดรอัส เจ้าชายแห่งซัคเซิน‑โคบวร์คและโกทา
สถาปนา1826
ล่มสลาย1918 (ในซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา)
เชื้อชาติเยอรมัน

ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทาได้ขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษผ่านทางเจ้าชายอัลแบร์ท ซึ่งทรงเสกสมรสกับสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียในปีค.ศ. 1840 อย่างไรก็ตาม ความขัดแย้งกับเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้พระเจ้าจอร์จที่ 5 ทรงเปลี่ยนชื่อราชวงศ์ในอังกฤษเสียใหม่เป็นราชวงศ์วินด์เซอร์ในปีค.ศ. 1917 ในประเทศเบลเยียมก็มีการเปลี่ยนชื่อราชวงศ์หลังสงครามเช่นกัน โดยเปลี่ยนไปใช้ van België (แห่งเบลเยียม)

สาขา

สาขาหลัก

สาขาซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา-โคฮารี

โปรตุเกส

บัลแกเรีย

ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา 
ตราแผ่นดินประจำพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียมในแบบของราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา ฉบับปรับปรุงค.ศ. 2019

พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม

สาขาเบลเยียมเริ่มนับจากเลออปอลที่ 1 พระโอรสพระองค์เล็กของฟรันทซ์ ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบวร์ค-ซาลเฟลด์ โดยหลังจากการเข้ารีตมาทรงนับถือนิกายโรมันคาทอลิกเพื่อรับราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม สาขาเบลเยียมล้วนนับถือนิกายโรมันคาทอลิก

ราชวงศ์เบลเยียม

เนื่องจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในช่วงปีค.ศ. 1920-1921 ทำให้ราชวงศ์สาขาเบลเยียมนั้นไม่สามารถเปลี่ยนมาเป็น "แห่งเบลเยียม" ได้ทัน และสัญลักษณ์โล่แห่งซัคเซินประจำราชวงศ์เว็ททีนได้ถูกถอดไปจากตราแผ่นดินของเบลเยียม ต่อมาในปีค.ศ. 2017 "แห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา" ได้ถูกนำมาใช้เป็นสร้อยพระนามให้กับพระราชวงศ์ทุกพระองค์ที่สืบราชสกุลต่อจากพระเจ้าเลออปอลที่ 1 ยกเว้นในกรณีของสมเด็จพระราชาธิบดี สมเด็จพระราชินี เจ้าหญิงอัสตริดแห่งเบลเยียม (พระเชษฐภคินี) เจ้าชายโลร็องแห่งเบลเยียม (พระอนุชา) ซึ่งยังคงใช้ "แห่งเบลเยียม" เป็นสร้อยพระนามดังเดิม ดังนั้นพระโอรสธิดาในอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย-เอสเตจะไม่ได้ใช้สร้อยพระนาม "แห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา" แต่ใช้ "แห่งออสเตรีย-เอสเต" ตามพระบิดาแทน โดยตราโล่แห่งซัคเซินนั้นถูกเชิญกลับมาใช้ในตราแผ่นดินเบลเยียมตั้งแต่ปีค.ศ. 2019 เป็นต้นมา

สาขาสหราชอาณาจักร

อ้างอิง

Tags:

ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา สาขาราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา อ้างอิงราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทาซัคเซิน-โคบวร์คและโกทาภาษาเยอรมันรัฐทือริงเงินรัฐไบเอิร์นราชวงศ์เว็ททีนเครือดัชชีแอร์เน็สท์แอนสท์ที่ 1 ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

บ้านสราญแลนด์รวมพันธุ์นักสู้พิทักษ์จักรวาลกรภัทร์ เกิดพันธุ์นิกายในศาสนาคริสต์ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2565–66แพนด้าแดงจังหวัดนครสวรรค์ชาดา ไทยเศรษฐ์สโมสรฟุตบอลเวสต์แฮมยูไนเต็ดอี โด-ฮย็อนอินสตาแกรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือแดน บีช แบรดลีย์ศาสนาคริสต์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครอนุทิน ชาญวีรกูลประชากรโลกอิงฟ้า วราหะดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)ศุกลวัฒน์ คณารศสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโรประเทศซาอุดีอาระเบียชนม์สวัสดิ์ อัศวเหมหวยในประเทศไทยสุเทพ เทือกสุบรรณสุทธวรรณ สุบรรณ ณ อยุธยารายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่วัน อยู่บำรุงเครยอนชินจังเข็มอัปสร สิริสุขะกองทัพเรือไทยอาภา ภาวิไลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสโมสรฟุตบอลซันเดอร์แลนด์การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565รายชื่อตอนในนารูโตะ ตำนานวายุสลาตันติ๊กต็อกจิราพร สินธุไพรพรนับพัน พรเพ็ญพิพัฒน์อภิรัชต์ คงสมพงษ์0องศาเซลเซียสธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์งูเขียวพระอินทร์Xคนหิว เกมกระหายรายชื่อนามสกุลที่ใช้กันมากวัดพระศรีรัตนศาสดารามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนมจังหวัดสมุทรปราการในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566เฉลิมชัย ศรีอ่อนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เทีย ทวีพาณิชย์พันธุ์สุรเชษฐ์ หักพาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาริโอ้ เมาเร่อการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคฮุน เซนรายชื่อผู้ครองตำแหน่งมิสแกรนด์ไทยแลนด์แอทลาสญาดา เทพนมสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์คริส โปตระนันทน์ทวีปยุโรปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566ภาษาเกาหลีสภาผู้แทนราษฎรไทยเซลีน ดิออนแคพิบาราเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกพีท ทองเจือสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดาโทษประหารชีวิตในประเทศไทยรัฐภูมิ โตคงทรัพย์🡆 More