ภาษาสโลวัก

ภาษาสโลวัก (สโลวัก: slovenčina, slovenský jazyk) เป็นภาษากลุ่มสลาฟตะวันตกในกลุ่มเช็ก–สโลวัก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน เขียนด้วยอักษรละติน มีผู้พูดภาษาสโลวักเป็นภาษาแม่ประมาณ 5 ล้านคน ส่วนใหญ่มีเชื้อสายสโลวัก โดยมีสถานะเป็นภาษาราชการในประเทศสโลวาเกีย และเป็นหนึ่งใน 24 ภาษาราชการในสหภาพยุโรป

ภาษาสโลวัก
ออกเสียง[ˈslɔʋentʂina], [ˈslɔʋenski ˈjazik]
ประเทศที่มีการพูดสโลวาเกีย, ฮังการี, คาร์เพเทียนรูทีเนีย
ชาติพันธุ์ชาวสโลวัก
จำนวนผู้พูด5.2 ล้านคน  (2011–2012)
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
ระบบการเขียนอักษรละติน (ชุดตัวอักษรสโลวัก)
อักษรเบรลล์สโลวัก
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย
ภาษาสโลวัก สหภาพยุโรป
ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย (ในวอยวอดีนา)
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองในธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
ธงของประเทศฮังการี ฮังการี
ธงของประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน
ผู้วางระเบียบMinistry of Culture of the Slovak Republic
รหัสภาษา
ISO 639-1sk
ISO 639-2slo (B)
slk (T)
ISO 639-3slk
Linguasphere53-AAA-db < 53-AAA-b...–d
(วิธภาษา: 53-AAA-dba ถึง 53-AAA-dbs)
ภาษาสโลวัก
บริเวณที่มีผู้พูดภาษาสโลวัก:
  ภูมิภาคที่มีผู้พูดเป็นหมู่มาก
  ภูมิภาคที่มีผู้พูดเป็นชุมชนย่อย
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาสโลวักมีความใกล้ชิดกับภาษาเช็กมากจนถึงขั้นสามารถเข้าใจร่วมกันได้ในระดับสูงมาก เช่นเดียวกันกับภาษาโปแลนด์ คำศัพท์ในภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาละติน เยอรมัน และกลุ่มภาษาสลาฟอื่น ๆ

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Dudok, D. (1993) Vznik a charakter slovenských nárečí v juhoslovanskej Vojvodine [The emergence and character of the Slovak dialects in Yugoslav Vojvodina]. Zborník spolku vojvodinských slovakistov 15. Nový Sad: Spolok vojvodinských slovakistov, pp. 19–29.
  • Hanulíková, Adriana; Hamann, Silke (2010), "Slovak" (PDF), Journal of the International Phonetic Association, 40 (3): 373–378, doi:10.1017/S0025100310000162
  • Kráľ, Ábel (1988), Pravidlá slovenskej výslovnosti, Bratislava: Slovenské pedagogické nakladateľstvo
  • Musilová, K. and Sokolová, M. (2004) Funkčnost česko-slovenských kontaktových jevů v současnosti [The functionality of Czech-Slovak contact phenomena in the present-time]. In Fiala, J. and Machala, L. (eds.) Studia Moravica I (AUPO, Facultas Philosophica Moravica 1). Olomouc: Univerzita Palackého v Olomouci, pp. 133–146.
  • Nábělková, M. (2003) Súčasné kontexty slovensko-českej a česko-slovenskej medzijazykovosti [Contemporary contexts of the Slovak-Czech and Czech-Slovak interlinguality]. In Pospíšil, I. – Zelenka, M. (eds.) Česko-slovenské vztahy v slovanských a středoevropských souvislostech (meziliterárnost a areál). Brno: ÚS FF MU, pp. 89–122.
  • Nábělková, M. (2006) V čom bližšie, v čom ďalej... Spisovná slovenčina vo vzťahu k spisovnej češtine a k obecnej češtine [In what closer, in what further... Standard Slovak in relation to Standard Czech and Common Czech]. In Gladkova, H. and Cvrček, V. (eds.) Sociální aspekty spisovných jazyků slovanských. Praha: Euroslavica, pp. 93–106.
  • Nábělková, M. (2007) Closely related languages in contact: Czech, Slovak, "Czechoslovak". International Journal of the Sociology of Language 183, pp. 53–73.
  • Nábělková, M. (2008) Slovenčina a čeština v kontakte: Pokračovanie príbehu. [Slovak and Czech in Contact: Continuation of the Story]. Bratislava/Praha: Veda/Filozofická fakulta Univerzity Karlovy. 364 pp., ISBN 978-80-224-1060-1
  • Pavlík, Radoslav (2004), Bosák, Ján; Petrufová, Magdaléna (บ.ก.), "Slovenské hlásky a medzinárodná fonetická abeceda" [Slovak Speech Sounds and the International Phonetic Alphabet] (PDF), Jazykovedný časopis [The Linguistic Journal] (ภาษาสโลวัก), Bratislava: Slovak Academic Press, spol. s r. o. (55/2): 87–109, ISSN 0021-5597
  • Sloboda, M. (2004) Slovensko-česká (semi)komunikace a vzájemná (ne)srozumitelnost [Slovak-Czech (semi)communication and the mutual (un)intelligibility]. Čeština doma a ve světě XII, No. 3–4, pp. 208–220.
  • Sokolová, M. (1995) České kontaktové javy v slovenčine [Czech contact phenomena in Slovak]. In Ondrejovič, S. and Šimková, M. (eds.) Sociolingvistické aspekty výskumu súčasnej slovenčiny (Sociolinguistica Slovaca 1). Bratislava: Veda, pp. 188–206.
  • Štolc, Jozef (1968) Reč Slovákov v Juhoslávii I.: Zvuková a gramatická stavba [The speech of the Slovaks in Yugoslavia: phonological and grammatical structure]. Bratislava: Vydavateľstvo Slovenskej akadémie vied.
  • Štolc, Jozef (1994) Slovenská dialektológia [Slovak dialectology]. Ed. I. Ripka. Bratislava: Veda.

อ่านเพิ่ม

  • Mistrík, Jozef (1988) [First published 1982], A Grammar of Contemporary Slovak (2nd ed.), Bratislava: Slovenské pedagogické nakladateľstvo
  • Pauliny, Eugen; Ru̇žička, Jozef; Štolc, Jozef (1968), Slovenská gramatika, Slovenské pedagogické nakladateľstvo
  • Short, David (2002), "Slovak", ใน Comrie, Bernard; Corbett, Greville G. (บ.ก.), The Slavonic Languages, London and New York: Routledge, pp. 533–592, ISBN 9780415280785

แหล่งข้อมูลอื่น

Tags:

ภาษาสโลวัก อ้างอิงภาษาสโลวัก บรรณานุกรมภาษาสโลวัก อ่านเพิ่มภาษาสโลวัก แหล่งข้อมูลอื่นภาษาสโลวักตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนประเทศสโลวาเกียอักษรละติน

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

คอมพิวเตอร์พล ตัณฑเสถียรกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)ไทยจักรราศีวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีสุภาพบุรุษชาวดินพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวคณะรัฐมนตรีไทยท่าอากาศยานสุวรรณภูมิรางวัลนาฏราช ครั้งที่ 15กฤษฏ์ อำนวยเดชกรวันพีซเฟซบุ๊กมหาวิทยาลัยนเรศวรข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาณเดชน์ คูกิมิยะเป็นต่อสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันรหัสมอร์สภรภัทร ศรีขจรเดชานิวจีนส์ราชวงศ์ในประวัติศาสตร์จีนรายชื่อตอนในอนิเมะเทพมรณะเผ่า ศรียานนท์พรรคเพื่อไทยหม่ำ จ๊กมกพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรายชื่อละครโทรทัศน์ทางช่อง 3 เอชดียูเอสเอส ทีโอดอร์ โรเซอเวลต์ (CVN-71)อิงฟ้า วราหะเปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟินมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ประเทศแอฟริกาใต้ปีเตอร์ เดนแมนกรงกรรมอมีนา พินิจอักษรไทยภูมิภาคของประเทศไทยตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรงต่าย อรทัยตารางธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโตพรหมโลกมหาเวทย์ผนึกมารกันต์ กันตถาวรฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024ใบแดงจังหวัดลำปางพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชนิพัทธ์ ทองเล็กสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่นพระมหากษัตริย์ไทยชา อึน-อูพ.ศ. 2567พระศิวะอาณาจักรล้านนาวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024ประชาธิปไตยประเทศจีนหอแต๋วแตก (ภาพยนตร์ชุด)พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์เปาบุ้นจิ้น (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2536)การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566จังหวัดร้อยเอ็ดประเทศบังกลาเทศจังหวัดบึงกาฬรายชื่อตัวละครในกังฟูแพนด้าพระพรหมเดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์จังหวัดปทุมธานีคิม จี-ว็อน (นักแสดง)วันชนะ สวัสดีเขตพื้นที่การศึกษาวีรยุทธ จันทร์สุขยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก🡆 More