ตัวระบุวัตถุดิจิทัล

ตัวระบุวัตถุดิจิทัล หรือ ตัวบ่งชี้วัตถุดิจิทัล (อังกฤษ: digital object identifier: DOI) เป็นระบบสากลที่ใช้ระบุตัวเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่อยู่ของเอกสารนั้น ๆ โดยหน่วยงานชื่อ International DOI Foundation (IDF) DOI เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของ IDF ประโยชน์ของระบบ DOI คือใช้เป็นข้อความที่ใช้แสดงแทนบทความทางวิชาการ ซึ่งทุกคนสามารถใช้หมายเลขนี้ในการค้นหาเอกสารที่ต้องการนั้น ๆ ในเครือข่ายดิจิตอล

โครงสร้างของ DOI

DOI ประกอบด้วยตัวเลขหรือข้อความ 2 ส่วน ได้แก่ prefix และ suffix ตัวอย่างเช่น

    10.1000/182

ความหมาย

    10.1000 เป็น prefix:
    10 เป็นรหัสของรายชื่อ ซึ่งต้องเป็นตัวเลขที่ตั้งขึ้นโดยหน่วยงานที่ดูแล นั่นคือ International DOI Foundation ในปัจจุบันตัวเลขที่ถูกตั้งขึ้นอย่างถูกต้องคือหมายเลข 10 และ DOI ที่ใช้ในปัจจุบันทุกตัวจึงขึ้นต้นด้วย 10 ทั้งหมด
    1000 เป็นรหัสลงทะเบียนของผู้ตีพิมพ์เอกสาร ในกรณีนี้ 1000 เป็นเลขของ International DOI Foundation
    182 เป็น suffix หรือเลขประจำเอกสาร ใช้ระบุตัวตนของเอกสารชิ้นนั้น ๆ ในกรณีนี้ doi:10.1000/182 ใช้แทนคู่มือ DOI เวอร์ชัน 4.4.1 (DOI Handbook, Version 4.4.1)

ส่วน Prefix ตั้งขึ้นโดย DOI Registration Agency ให้เฉพาะแก่ผู้ที่ลงทะเบียนนั้น ๆ ส่วน Suffix นั้นตั้งขึ้นเองโดยผู้ที่ลงทะเบียน และต้องใช้แทนเอกสารใดเอกสารหนึ่ง ซึ่งสามารถใช้รวมกับเลขทะเบียนที่ใช้แทนหนังสือหรือเอกสารอื่น ๆ เช่น ISBN หรือ ISSN

ในการอ้างอิง DOI บนเว็บไซต์หรือในสิ่งตีพิมพ์ที่ถูกต้อง คือ doi:10.1000/182

ประวัติ

รหัสทรัพยากร สารสนเทศดิจิทัล หรือ DOI เกิดจากความร่วมมือของสมาคมสำนักพิมพ์แห่งสหรัฐอเมริกาที่ต้องการมาตรฐานการ ให้รหัสของเอกสารดิจิทัล ร่วมกับองค์กรต่าง ๆ เช่น International Publishers Association; International Association of Scientific, Technical and Medical Publishers; Association of American Publishers โดยได้ก่อตั้งองค์กรที่ไม่แสวงหากำไรเรียกว่า มูลนิธิ DOI เรียกว่าThe International DOI® Foundation (IDF) ในปี 1977

ต่อมา IDF ได้ทำงานร่วมกับองค์กร CNRI (Corporation for National Research Initiatives) ในการพัฒนาระบบ Handle System เพื่อใช้เป็นองค์ประกอบสำคัญทางเทคนิคของระบบ DOI

ในปีต่อมาคือ 1998-2000 IDF ร่วมกับ indecs project ได้กำหนด Indecs framework เป็น Data model องค์กรที่เป็น Registration Agency แห่งแรกเริ่มขึ้นในปี 2000 โดยการเชื่อมโยงบทความวารสารเรียกว่า CrossRef Registration Agency

ส่วน DOI syntax เป็นมาตรฐาน ISO ตาม A National Information Standards Organization (US) standard, ANSI/NISO Z39.84-2010 ต่อมาระบบ DOI ได้รับการรับรองเป็นมาตรฐานสากล Information and Documentation ในปี 2012

ในประเทศไทย

การนำรหัสทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลมาใช้งาน เริ่มมีการดำเนินการไปแล้ว โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้สมัครสมาชิกเป็นผู้บริหารจัดการรหัสทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลด้านการวิจัย ของประเทศกับ DataCite ซึ่งเป็น Registration Agencies (RA) และได้รับการยอมรับจากที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปีของ DataCite ให้เป็นสมาชิกเต็มรูปแบบลำดับที่ 17 เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2555[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Tags:

ตัวระบุวัตถุดิจิทัล โครงสร้างของ DOIตัวระบุวัตถุดิจิทัล ประวัติตัวระบุวัตถุดิจิทัล อ้างอิงตัวระบุวัตถุดิจิทัล แหล่งข้อมูลอื่นตัวระบุวัตถุดิจิทัลภาษาอังกฤษอิเล็กทรอนิกส์เครื่องหมายการค้าจดทะเบียน

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

อมีนา พินิจอัสซะลามุอะลัยกุมสโมสรฟุตบอลอัลฮิลาลICD-10ไอลิทพ่อขุนรามคำแหงมหาราชหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลจังหวัดนนทบุรีรหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศเนย์มาร์รายชื่อยุทโธปกรณ์ในกองทัพบกไทยมี่นอองไลง์ดวงจันทร์รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดลำพูนอุณหภูมิบาป 7 ประการและสิ่งสุดท้ายสี่อย่างพิจักขณา วงศารัตนศิลป์เรวัช กลิ่นเกษรจังหวัดเชียงใหม่ศาสนาเชนรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทยไททานิค (ภาพยนตร์)เจาะมิติพิชิตบัลลังก์โลจิสติกส์รายชื่อธนาคารในประเทศไทยประเทศไทยอวตาร (ภาพยนตร์)ท่าอากาศยานดอนเมืองไผ่ ลิกค์ข่าวช่อง 7HDมิตร ชัยบัญชาพระเทพวิทยาคม (คูณ ปริสุทฺโธ)กองอาสารักษาดินแดนธนินท์ เจียรวนนท์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชวัดไร่ขิงเข็มทิศศรัณยู ประชากริชหลานม่าพระมหากษัตริย์ไทยวินัย ทองสองการ์ลัส ปุดจ์ดาโมนมาตาลดาธนาคารกรุงไทยสรพงศ์ ชาตรีสุรเชษฐ์ หักพาลโปเตโต้กรภัทร์ เกิดพันธุ์สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลมาริโอ้ เมาเร่อรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดสงครามโลกครั้งที่สองธัญญภัสร์ ภัทรธีรชัยเจริญสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแทททูคัลเลอร์จนกว่าจะได้รักกันประเทศนิวซีแลนด์สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าวันมูหะมัดนอร์ มะทาธนาคารไทยพาณิชย์นฤมล พงษ์สุภาพสุทิน คลังแสงหน้าหลักรายชื่อตอนในเป็นต่อ (ช่องวัน)ฟีลิปโป อินซากีพ.ศ. 2564ทักษิณ ชินวัตรพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมหาวิทยาลัยมหาสารคามสโมสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโนสมเด็จพระนเรศวรมหาราชฮ่องกงภาษาญี่ปุ่นกฤษณภูมิ พิบูลสงครามอาณาจักรอยุธยาข้าราชการส่วนท้องถิ่นกูเกิล แผนที่🡆 More