ซามาร์กันต์

ซามาร์กันต์ หรือ ซามาร์กันด์ (อุซเบก: Samarqand/Самарқанд, ออกเสียง: ; ทาจิก: Самарқанд; เปอร์เซีย: سمرقند) เป็นนครทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศอุซเบกิสถานและเป็นหนึ่งในเมืองที่มีการอยู่อาศัยต่อเนื่องเก่าแก่ที่สุดในเอเชียกลาง ปรากฏหลักฐานว่ามีการตั้งรกรากของมนุษย์ตั้งแต่ยุคหินเก่าตอนปลาย ซามาร์กันต์เจริญรุ่งเรืองอย่างมากในฐานะเมืองบนเส้นทางสายไหมเชื่อมต่อจีนกับเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งในเวลานั้นซามาร์กันต์เป็นหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุด ในเอเชียกลาง

ซามาร์กันต์
นคร
ซามาร์กันต์
ซามาร์กันต์
ซามาร์กันต์
ซามาร์กันต์
ตามเข็มนาฬิกาจากด้านบน:
เรกิสตอน, ชอฮือซึนดา, มัสยิดฮัซราตือฆือซือร์, เกอรืออามีร์, มัสยิดบีบี-ฆอนึม
ตราอย่างเป็นทางการของซามาร์กันต์
ตรา
ซามาร์กันต์ตั้งอยู่ในอุซเบกิสถาน
ซามาร์กันต์
ซามาร์กันต์
ซามาร์กันต์ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตกและเอเชียกลาง
ซามาร์กันต์
ซามาร์กันต์
ซามาร์กันต์ตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย
ซามาร์กันต์
ซามาร์กันต์
พิกัด: 39°42′N 66°59′E / 39.700°N 66.983°E / 39.700; 66.983
ประเทศซามาร์กันต์ อุซเบกิสถาน
แคว้นซามาร์กันต์
ตั้งรกราก800 ปี ก่อน ค.ศ.
การปกครอง
 • ประเภทเทศบาล
 • องค์กรนายกเทศมนตรี
พื้นที่
 • นคร120 ตร.กม. (50 ตร.ไมล์)
ความสูง705 เมตร (2,313 ฟุต)
ประชากร
 (1 มกราคม 2019)
 • นคร513,572 คน
 • รวมปริมณฑล950,000 คน
เขตเวลาUTC+5
รหัสไปรษณีย์140100
เว็บไซต์samarkand.uz
ชื่อทางการซามาร์กันต์ ชุมทางวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณาวัฒนธรรม: (i), (ii), (iv)
อ้างอิง603
ขึ้นทะเบียน2001 (สมัยที่ 25)
พื้นที่1,123 ha
พื้นที่กันชน1,369 ha

ในสมัยจักรวรรดิอะคีเมนิดของเปอร์เซีย ซามาร์กันต์กลายเป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าราชการซอกเดีย และใน 329 ปีก่อน ค.ศ. เมืองถูกอะเล็กซานเดอร์มหาราชพิชิตได้ ในเวลานั้นเมืองมีชื่อว่ามาร์กันดา (Markanda) ซึ่งเรียกเป็นภาษากรีกโบราณว่ามารากันดา (Μαράκανδα) จากนั้นเมืองถูกปกครองโดยชาวอิหร่าน ชาวเติร์ก และชาวมองโกลหลังการพิชิตของเจงกีส ข่าน ในปี 1220 ในปัจจุบัน ซามาร์กันต์เป็นหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอุซเบกิสถาน

ในปี 2001 ยูเนสโกขึ้นทะเบียนนครซามาร์กันต์เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมในชื่อ "ซามาร์กันต์ ชุมทางวัฒนธรรม"

ในปัจจุบัน เมืองแบ่งออกเป็นสองส่วนคือเมืองเก่าและเมืองใหม่ซึ่งได้รับการพัฒนาในช่วงการปกครองของจักรวรรดิรัสเซียและสหภาพโซเวียต เมืองเก่าเต็มไปด้วยโบราณสถานและอนุสรณ์สถานเก่าแก่ ส่วนเมืองใหม่เป็นศูนย์กลางการปกครองและเป็นที่ตั้งของสถาบันการศึกษา

อ้างอิง


Tags:

จีนประเทศอุซเบกิสถานภาษาทาจิกภาษาอุซเบกภาษาเปอร์เซียยุคหินเก่าเมดิเตอร์เรเนียนเส้นทางสายไหมเอเชียกลาง

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

เพื่อน(ไม่)สนิทขุนพันธ์ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชียสวิตเซอร์แลนด์ไมโครซอฟท์อินเทอร์เน็ตเว็บไซต์ภาษาบาลีอักษรไทยมหาเวทย์ผนึกมารฟุตบอลทีมชาติอังกฤษดอลลาร์สหรัฐประเทศอาร์เจนตินาโมเสสรายชื่อสัตว์ภาษาพม่ากูเกิล แผนที่ควยมหาวิทยาลัยมหาสารคามพรหมลิขิตประวัติศาสตร์ไทยเกรซ มหาดำรงค์กุลกระทรวงในประเทศไทยสงครามเวียดนามอุษามณี ไวทยานนท์อีสเตอร์พรรคเพื่อไทยกูเกิลพ.ศ. 2553มินนี่ (นักร้อง)วันพีซสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภามณฑลของประเทศจีนพระพุทธเจ้าอัลกออิดะฮ์อาหารดัดแปรพันธุกรรมราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)วัดสระเกศราชวรมหาวิหารอัมสเตอร์ดัมเกียรติศักดิ์ เสนาเมืองศึกโลกเวทมนตร์คนพลังกล้ามภัณฑิรา พิพิธยากรเบ็นเท็น (ซีรีส์โทรทัศน์ พ.ศ. 2548)คอมมิวนิสต์เนลสัน แมนเดลามหัพภาคอดอล์ฟ ฮิตเลอร์หมายเลขโทรศัพท์ในประเทศไทยรายชื่อละครโทรทัศน์ทางช่องวัน 310รายชื่อตอนในวันพีซ (อนิเมะ)X-เม็น (ภาพยนตร์ชุด)พ.ศ. 2567รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทมหาวิทยาลัยขอนแก่นจังหวัดนครสวรรค์Aเฮลล์คิทเช่นไทยแลนด์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024อเล็กซานเดอร์มหาราชสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์รายชื่อละครโทรทัศน์จักร ๆ วงศ์ ๆหม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุลต่อศักดิ์ สุขวิมลไมเคิล แจ็กสันถนอม กิตติขจรหลวงปู่ทวดฟุตบอลโลก 2026 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย – รอบที่ 2จังหวัดเชียงใหม่กาก้าประเทศแคนาดารายชื่อตัวละครในขอต้อนรับสู่ห้องเรียนนิยม (เฉพาะ) ยอดคน🡆 More