กองทัพผู้ก่อการกำเริบยูเครน

กองทัพกบฎยูเครน (ยูเครน: Украї́нська повста́нська а́рмія, УПА) เป็นกองกำลังกึ่งทหารชาตินิยมยูเครนและต่อมากลายเป็นกองทัพพลพรรคที่ได้เข้าร่วมในหนึ่งของการสู้รบแบบกองโจรในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งได้ต่อกรกับนาซีเยอรมนี คอมมิวนิสต์ (สหภาพโซเวียต, เชโกสโลวาเกีย) และรัฐใต้ดินโปแลนด์ กองทัพกบฏได้เกิดขึ้นจากการก่อตั้งกองกำลังรบที่แยกต่างหากขององค์กรชาตินิยมยูเครน-ฝ่ายบันเดรา (the OUN-B) กองกำลังรบอื่น ๆ ที่มีความรักชาติ ผู้แปรพัตร์บางส่วนของตำรวจกองหนุนยูเครน (Ukrainian Auxiliary Police) การรวมตัวของประชากรท้องถิ่นและอื่น ๆ ความเป็นผู้นำทางการเมืองของกองทัพเป็นขององค์กรชาตินิยมยูเครน-บันเดรา เป็นพวกกระทำความผิดตั้งแต่แรกของการสังหารหมู่ชาวโปลใน Volhynia และตะวันออกของกาลิเซีย

กองทัพกบฎยูเครน
Українська повстанська армія
มีส่วนร่วมในสงครามโลกครั้งที่สอง
กองทัพผู้ก่อการกำเริบยูเครน
Battle flag of the UPA
ปฏิบัติการ14 ตุลาคม ค.ศ. 1942 – 1949 (active)
1949–1956 (localized)
แนวคิดUkrainian nationalism
ผู้นำVasyl Ivakhiv
Dmytro Klyachkivsky
Roman Shukhevych
Vasyl Kuk
พื้นที่ปฏิบัติการVolhynia
Polesia
Halychyna
Podilia
Carpathia
กำลังพล20,000–200,000 (โดยประมาณ)
ส่วนหนึ่งของOrganization of Ukrainian Nationalists
ปรปักษ์กองทัพผู้ก่อการกำเริบยูเครน สหภาพโซเวียต (กองทัพแดง, NKGB, NKVD, พลพรรคโซเวียต),
รัฐใต้ดินโปแลนด์ (Armia Krajowa),
นาซีเยอรมนี นาซีเยอรมนี,
โปแลนด์ สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์ (กองทัพประชาชน)
เชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (กองทัพเชโกสโลวาเกีย)

วันที่ก่อตั้งอย่างเป็นทางการคือวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1942 งานเลี้ยงของวันการร้องขอความกรุณาต่อมารดาพระเจ้า (Intercession of the Theotokos) กองทัพปฏิวัติประชาชนชาวยูเครนในช่วงตั้งแต่เดือนธันวาคม ค.ศ. 1941 จนถึงเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1943 มีชื่อเดียวกัน (กองทัพกบฎยูเครน หรือ UPA)

อ้างอิง

Tags:

คอมมิวนิสต์นาซีเยอรมนีภาษายูเครนรัฐใต้ดินโปแลนด์สงครามโลกครั้งที่สองสหภาพโซเวียตเชโกสโลวาเกีย

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

กูเกิล แผนที่จังหวัดตากในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566มหาศึกชิงบัลลังก์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์)พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์ประเทศพม่าจังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566ตารางธาตุโรเมโอและจูเลียตนิวคาสเซิลอะพอนไทน์คาวาซากิ ฟรอนตาเลณภัทร เสียงสมบุญจังหวัดกาฬสินธุ์แจ็กเดอะริปเปอร์หลับตาฝัน ถึงชื่อเธอฟินเซนต์ ฟัน โคคเจ้าคุณพระสินีนาฏ พิลาสกัลยาณีพรรครวมแผ่นดินสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารีสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีจอมขวัญ หลาวเพ็ชร์จอห์น วิค แรงกว่านรก 4ไป๋ ลู่พรรคชาติพัฒนากล้าภัณฑิรา พิพิธยากรยศทหารพรหมวิหาร 4เสรีพิศุทธ์ เตมียเวสแมวรัตติกร ขุนโสมกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562สุทธวรรณ สุบรรณ ณ อยุธยาเศรษฐา ทวีสินสโมสรฟุตบอลไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียนจังหวัดเพชรบูรณ์สุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลนอริชซิตีเหยา หมิงรายชื่อผู้ครองตำแหน่งมิสแกรนด์ไทยแลนด์ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2565–66มุน บินเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยสถานีกลางบางซื่อทวิตเตอร์สมเด็จพระเจ้าปราสาททองฉัตรฑริกา สิทธิพรมพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้ารายชื่อตัวละครในเดอะฟาสต์แอนด์เดอะฟิวเรียสฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่นวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2023ลอนดอนหม่อมหลวงภาสันต์ สวัสดิวัตน์สุรเชษฐ์ หักพาลพรรครวมไทยสร้างชาติสามก๊กแจ็กสัน หวังเภตรานฤมิตน้ำอ้อย ชนะพาลมิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2016พรรคเปลี่ยนเกาะเสม็ดคณาวุฒิ ไตรพิพัฒนพงษ์เรือหลวงจักรีนฤเบศรสภาผู้แทนราษฎรไทยประชากรโลกอิซานามิแฟรงก์เฟิร์ตจุฑามาศ เมฆเสรีกรรณ สวัสดิวัตน์ ณ อยุธยามาริโอ (ตัวละคร)ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีจังหวัดมหาสารคามสมศักดิ์ เทพสุทินอาทิตย์ ตั้งวิบูลย์พาณิชย์ชวน หลีกภัยพงศ์พันธ์ ยอดเมืองเจริญพริษฐ์ วัชรสินธุ🡆 More