น้ำบาดาล

น้ำบาดาล (อังกฤษ: groundwater) คือน้ำที่ถูกกักเก็บหรือสะสมตัวอยู่ใต้ดิน อาจสะสมตัวอยู่ตามรอยแตก รอยแยกของชั้นหิน หรืออาจสะสมตัวอยู่ในช่องว่างระหว่างเม็ดกรวด หรือเม็ดทรายใต้ผิวดิน น้ำใต้ดินหรือน้ำบาดาลแย่งออกได้เป็น 2 โซนคือ unsaturated zone เป็นโซนที่มีทั้งน้ำและอากาศ และ saturated zone เป็นโซนที่มีแต่น้ำเท่านั้นโดยส่วนนี้จะเป็นส่วนของน้ำใต้ดินที่แท้จริง

  • unsaturated zone มีความสำคัญมากสำหรับน้ำใต้ดิน โซนนี้สามารถแบ่งได้ 3 ส่วนคือ soil zone, intermediate zone และ the upper part of capillary fringe" โดยsoil zone จะเริ่มจากผิวดินลึกลงไปเมตรถึงสองเมตร พื้นที่ส่วนนี้จะมีรากต้นไม้ มีรูชอนไชของพืชและสัตว์ ทำให้รูพรุน porosity และความสามารถในการซึมผ่านของน้ำ (permeability) ในพื้นที่ที่นี้สูง intermediate zone จะมีความลึกไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับความหนาของ soil zone และ capillary fringe โซนล่างสุดคือ capillary fringe โซนนี้เป็นส่วนหนึ่งของ unsaturated zone โดย capillary fringe เกิดจากแรงระหว่างหินและน้ำ ซึ่งผลจากแรงดึงดูดนี้ทำให้น้ำมีลักษณะคล้ายถูกตรึงอยู๋ในช่องว่างของหิน น้ำใน capillary fringe และที่อยู่ใต้โซนนี้จะมีค่า hydraulic pressure มีค่าเป็นลบ (มีความดันต่ำกว่าความดันบรรยากาศ) "water table" คือระดับ
  • saturated zone ที่ hydraulic pressure มีค่าเท่ากับ atmospheric pressure หรือความดันบรรยากาศ โดยค่า hydraulic pressure จะมีค่าเพิ่มตามความลึก
น้ำบาดาล
น้ำใต้ดินแบ่งเป็น 3 โซนได้แก่ soil zone, intermediate zone และ the upper part of capillary fringe

ชั้นหินอุ้มน้ำ

น้ำบาดาล 
ภาพแสดงชนิดของ aquifers

ชั้นหินอุ้มน้ำ (อังกฤษ: Aquifer) คือชั้นของหินที่มีรูพรุนซึ่งสามารถกักเก็บน้ำและไหลผ่านรูพรุนเพื่อสูบใช้ได้ โดยชั้นหินอุ้มน้ำแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ

  • ชั้นหินอุ้มน้ำแบบเปิด ซะนุ้ย

คือชั้นน้ำบาดาลที่ไม่ถูกปิดทับโดย คือชั้นหินที่น้ำไม่สามารถซึมผ่านได้ semipervious strata หรือซึมผ่านได้ยาก Impervious strata เมื่อไม่ถูกปิดทับชั้นน้ำจึง ไร้แรงดันและน้ำจากผิวดินสามารถซึมลงไปได้โดยตรง โดยระดับที่น้ำจะถูกดึงโดยแรงดึงดูดโลกและเติมในโซนอิ่มตัวของชั้นน้ำนี้เรียกว่า water table หรือ phreatic surface เมื่อทำการเจาะบ่อในชั้นน้ำนี้ระดับน้ำจะอยู่ในระดับ water table และระดับน้ำสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาขึ้นกับปริมาณน้ำ Recharge และ Discharge ชั้นหินอุ้มน้ำนี้มี คุณภาพต่ำและปนเปื้อนได้ง่ายจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น ยาฆ่าแมลง ปุ๋ย บ่อเกรอะ และสารเคมีต่างๆ เนื่องจากสารเคมีที่ตกค้างในผิวดินสามารถถูกชะ โดยน้ำฝนและซึมเข้า สู่ชั้นน้ำบาดาลนี้ได้โดยตรง

  • ชั้นหินอุ้มน้ำแบบปิด

คือชั้นน้ำบาดาลที่มีชั้นหินที่น้ำไม่สามารถซึมผ่านได้หรือซึมผ่านได้ยากปิดทับ ทำให้ชั้นน้ำนี้มีแรงดัน บางครั้งจึงเรียกชั้นน้ำนี้ว่า Pressure aquifer หรือ Artesian aquifer โดยแรงดันจะอยู่ในลักษณะ Hydrostatic pressure คือ มีแรงดันเท่ากันทุกจุด โดยมี Piezometric surface เป็นชั้นสมมติที่แสดงระดับน้ำที่ความดันเท่ากันโดยอ้างอิงจากน้ำ ในบ่อเจาะชั้นน้ำ หากทำการเจาะบ่อสำรวจในชั้นน้ำจะพบว่าระดับน้ำในบ่อเปลี่ยนแปลงน้อยมากและระดับน้ำในบ่อจะสูงกว่าชั้นหินอุ้มน้ำที่ถูกปิดทับเนื่องจากมีแรงดัน คุณภาพ น้ำในชั้นหินอุ้มน้ำถูกปิดทับจะมีคุณภาพสูงไม่ถูกปนเปื้อนได้ง่าย แต่ถ้าหากปนเปื้อนจะใช้เวลานานมากในการตรวจพบ

วัฏจักรน้ำ

น้ำบาดาล 
ภาพแสดงวัฏจักรของน้ำ

วัฏจักรน้ำ (อังกฤษ: Hydrologic cycle) กล่าวถึงการเคลื่อนที่อย่างคงที่ของน้ำทั้งเหนือและใต้ผิวโลก วัฎจักรของน้ำเริ่มจากการระเหยน้ำจากพืช ดินชื้น และทะเล ความชื้นจากการระเหยนี้จะคืนกลับสู่ผิวดิน โดยการกลั่นตัว การกลั่นตัวเกิดได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นฝน หิมะ และลูกเห็บ แต่ในแง่น้ำบาดาลจะพิจารณาแต่ฝนเท่านั้น เมื่อฝนตกลงมาสู่ผิวดิน น้ำฝนจะซึมลง (infiltration) ใต้ดิน โดยค่า infiltration จะมีค่ากว้างมากขึ้นกับการใช้งานพื้นที่ ความชื้นของดิน และระยะเวลาที่ได้รับน้ำ เมื่อใดก็ตามที่ฝน (precipitation) ตกในปริมาณที่มากจะเกิดการซึมลง (infiltration) สู่ใต้ดินเพิ่มขึ้น น้ำที่ซึมลงจะไปแทนที่ความชื้นในดิน และค่อยไหลเข้าสู่โซน intermediate และเข้าสู่โซนน้ำอิ่มตัว (saturated zone) น้ำในโซนที่อิ่มตัวจะซึมในลงในแนวดิ่งและแนวราบเป็น discharge ออกจากชั้นน้ำบาดาลเช่น น้ำพุบนภูเขา หรือ น้ำซึมในลำธาร จากนั้นก็จะระเหยกลับเข้าสู่วัฏจักรอีกครั้ง น้ำที่เติมในแม่น้ำ ทั้งจากการไหลบนผิวดินและจาก discharge ของน้ำบาดาลจะไหลลงทะเลทั้งหมดและระเหยกลับเข้าสู่กระบวนการอีกครั้ง

อ้างอิง

Tags:

กรวดน้ำภาษาอังกฤษ

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

สุธิตา ชนะชัยสุวรรณมิวซิกมูฟกองทัพอากาศไทยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เดือนประเทศโมร็อกโกคิม มิน-แจ (นักฟุตบอล)จีเอ็มเอ็มทีวีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรจังหวัดสงขลาธีรดนย์ ศุภพันธุ์ภิญโญรายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์วิกิพีเดียเกาหลีใต้หลิน เกิงซินบุญชัย เบญจรงคกุลทวีปอเมริกาเหนือยอดนักสืบจิ๋วโคนันฉบับภาพยนตร์รายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานครประเทศนิวซีแลนด์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าดอลลาร์สหรัฐจังหวัดตากพิศณุ นิลกลัดพริสตีนาหน้าหลักอสุภท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเห็ดขี้ควายภาวะโลกร้อนหม่ำ จ๊กมกอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์เด่นคุณ งามเนตรอีสเตอร์ประเทศอิตาลีAมนต์แคน แก่นคูนท้าวสุรนารีเมธวิน โอภาสเอี่ยมขจรอี คัง-อินแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)สโมสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโนจิรายุ ตั้งศรีสุขฟินแลนด์จังหวัดสมุทรปราการพระมหากษัตริย์ไทยมหาวิทยาลัยขอนแก่นรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานครนิษฐา คูหาเปรมกิจลิขิตกามเทพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชสะพานแฟรนซิส สก็อต คีย์ (บอลทิมอร์)เอกซ์เจแปนเทรเชอร์จังหวัดนครปฐมสาธารณรัฐประชาชนจีนฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024ไมเคิล แจ็กสันสโมสรฟุตบอลเชลซีพชร จิราธิวัฒน์เอ็กซูม่าทวีปอเมริกาใต้ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชียสถิตย์พงษ์ สุขวิมลชนาธิป สรงกระสินธ์ดอนัลด์ ทรัมป์สโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตีกระทรวงในประเทศไทยรายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐจักรทิพย์ ชัยจินดาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังอาเลฆันโดร การ์นาโชจังหวัดกระบี่ราชมังคลากีฬาสถานอชิรญา นิติพน🡆 More