การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ.

2535 หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า 2535/2 มีขึ้นเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 พรรคประชาธิปัตย์ได้ 79 ที่นั่ง จากทั้งหมด 360 ที่นั่ง ไม่ถึงกึ่งหนึ่งของสภาจึงต้องตั้งรัฐบาลผสม ผู้มีสิทธิเลือกตั้งคิดเป็น 61.6%

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
← มีนาคม พ.ศ. 2535 13 กันยายน พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2538 →

ทั้งหมด 360 ที่นั่งในรัฐสภาไทย
ต้องการ 181 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก
ลงทะเบียน31,860,156
ผู้ใช้สิทธิ61.59% (เพิ่มขึ้น 2.35)
  First party Second party Third party
 
Chuan Leekpai 1999 cropped.jpg
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
chatichai Choonhavan 1976.jpg
ผู้นำ ชวน หลีกภัย ประมาณ อดิเรกสาร ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค ประชาธิปัตย์ ชาติไทย ชาติพัฒนา
เขตของผู้นำ 26 มกราคม 2534

ตรัง เขต 1

3 กรกฏาคม 2535

สระบุรี เขต 1

23 มิถุนายน 2535

นครราชสีมา เขต 1

เลือกตั้งล่าสุด 44 ที่นั่ง, 10.57% 74 ที่นั่ง, 16.41% พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 79 77 60
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 35 เพิ่มขึ้น 3 พรรคใหม่
คะแนนเสียง 9,703,672 7,274,474 7,332,388
% 21.02 15.76 15.88
%เปลี่ยน เพิ่มขึ้น 10.45 จุด ลดลง 0.65 จุด พรรคใหม่

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Carlos Menem with Chavalit Yongchaiyudh (cropped).jpg
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
Montri Phongphanit.jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ บุญชู โรจนเสถียร มนตรี พงษ์พานิช
พรรค ความหวังใหม่ พลังธรรม กิจสังคม
เขตของผู้นำ 16 ตุลาคม 2533

นนทบุรี เขต 1

20 มิถุนายน 2535

นครสวรรค์ เขต 2

9 มิถุนายน 2534

อยุธยา เขต 1

เลือกตั้งล่าสุด 72 ที่นั่ง, 22.42% 41 ที่นั่ง, 11.47% 31 ที่นั่ง, 8.06%
ที่นั่งที่ชนะ 50 47 22
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 22 เพิ่มขึ้น 6 ลดลง 9
คะแนนเสียง 6,576,092 8,293,457 1,863,360
% 14.24 17.96% 4.04
%เปลี่ยน ลดลง 8.18 จุด เพิ่มขึ้น 6.49 จุด ลดลง 4.02 จุด

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
รหัสสี: ประชาธิปัตย์, ชาติไทย, ชาติพัฒนา, ความหวังใหม่, พลังธรรม, กิจสังคม, เอกภาพ, อื่น ๆ
แต่ละจังหวัดอาจประกอบด้วยที่นั่งเดียวหรือหลายที่นั่งก็ได้ โดยสีที่ปรากฏนี้บ่งบอกถึงพรรคที่ได้ที่นั่งมากที่สุดในจังหวัดนั้น

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งครั้งนั้นนับการเลือกตั้งครั้งหนึ่งที่ผู้คนตื่นตัวเป็นอย่างมาก เพราะเป็นการเลือกตั้งครั้งแรกหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านั้น นับเป็นการสิ้นสุดของอำนาจเผด็จการทหาร โดย คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ที่เข้ามาด้วยการรัฐประหารในวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534

ผลการเลือกตั้ง พรรคประชาธิปัตย์ ที่ถือเป็นพรรคฝ่ายค้านที่คัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พลเอก สุจินดา คราประยูร สมาชิกของคณะ รสช. ที่มิได้มาจากการเลือกตั้ง ได้รับชัยชนะ ด้วยคะแนนเสียงที่ได้มาเป็นลำดับที่หนึ่ง ด้วยจำนวน 79 เสียง จึงเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ซึ่งผสมด้วยพรรคการเมืองอีก 4 พรรค คือ พรรคความหวังใหม่, พรรคพลังธรรม, พรรคเอกภาพ และพรรคกิจสังคม มีจำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งทั้งหมดร้อยละ 42 นับว่ามากกว่าการเลือกตั้งก่อนหน้านั้น เมื่อเดือนมีนาคม ราวร้อยละ 5 มีจำนวนบัตรเสียคิดเป็นร้อยละ 1.27 และมีการรณรงค์การเลือกตั้งครั้งนั้นมิให้มีการทุจริต โดยคณะกรรมการองค์กรกลาง ใช้คำขวัญที่ว่า "ขายเสียง ขายสิทธิ เหมือนขายชีวิต ขายชาติ" การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นครั้งล่าสุดที่พรรคประชาธิปัตย์ชนะการเลือกตั้ง

ผลการสำรวจ

ระยะเวลา

การสำรวจ

องค์กรที่สำรวจ ชวน จำลอง ชาติชาย ชวลิต
20 สิงหาคม-

2 กันยายน

นิด้าโพล[1] 25.7 30.0 14.4 5.6
2 กันยายน นิยมโพล[2] 31.6 24.9 22.7 15.0

ผลการเลือกตั้ง

ชื่อพรรค หัวหน้าพรรค จำนวน ส.ส.
พรรคประชาธิปัตย์ นายชวน หลีกภัย 79 คน
พรรคชาติไทย พลตำรวจเอกประมาณ อดิเรกสาร 77 คน
พรรคชาติพัฒนา พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ 60 คน
พรรคความหวังใหม่ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ 51 คน
พรรคพลังธรรม บุญชู โรจนเสถียร 47 คน
พรรคกิจสังคม นายมนตรี พงษ์พานิช 22 คน
พรรคเสรีธรรม นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ 8 คน
พรรคเอกภาพ นายอุทัย พิมพ์ใจชน 8 คน
พรรคมวลชน ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง 4 คน
พรรคประชากรไทย นายสมัคร สุนทรเวช 3 คน
พรรคราษฎร นายชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ 1 คน

รวมทั้งสภา 360 คน

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

Tags:

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 ผลการสำรวจการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 ผลการเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 อ้างอิงการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 ดูเพิ่มการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

มหาวิทยาลัยขอนแก่นสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์คินน์พอร์ชอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)จังหวัดพิษณุโลกบัตเตอร์ฟลาย (วงดนตรี)สมเด็จพระเจ้าสุริเยนทราธิบดีคาราบาวภาษาอังกฤษโลจิสติกส์วันมูหะมัดนอร์ มะทาความเสียวสุดยอดทางเพศประเทศไทยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์นิวรณ์อิษยา ฮอสุวรรณยศทหารและตำรวจไทยคดีพรหมพิรามสกีบีดีทอยเล็ตสโมสรฟุตบอลบีจี ปทุม ยูไนเต็ดธีรเดช เมธาวรายุทธนารีริษยาสโมสรฟุตบอลลีดส์ยูไนเต็ดวิธวัฒน์ สิงห์ลำพองวีรยุทธ จันทร์สุขข้าราชการส่วนท้องถิ่นสงครามโลกครั้งที่หนึ่งข้าราชการพลเรือนสามัญองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยรายชื่อละครโทรทัศน์ทางช่อง 3 เอชดี (พ.ศ. 2560–2567)เมลดา สุศรีทศศีลสถานีกลางบางซื่อเฟซบุ๊กการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475ประเทศมัลดีฟส์สำนักพระราชวังจังหวัดตากราชวงศ์ชิงพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดาโรงเรียนนายร้อยตำรวจนิวจีนส์เข็มอัปสร สิริสุขะกูเกิล แปลภาษาอาณาจักรอยุธยาจังหวัดสุราษฎร์ธานีสโมสรฟุตบอลเชลซีพระศรีอริยเมตไตรยเมียวดีจังหวัดลำปางสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงไทยชาบี อาลอนโซสมณะโพธิรักษ์น้ำอสุจิจังหวัดลพบุรีประเทศญี่ปุ่นร่างทรง (ภาพยนตร์)ตารางธาตุรายชื่อละครโทรทัศน์ทางช่อง 7HDแบมแบมวัดพระศรีรัตนศาสดารามเกาะเสม็ดหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลชานน สันตินธรกุลอำเภอดวงอาทิตย์รอยรักรอยบาปหีวิดีโอลาลิกาพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567อมีนา พินิจนามสกุลพระราชทานเขตการปกครองของประเทศพม่า🡆 More