โรคของระบบประสาท

ICD-10 บทที่ 6: โรคของระบบประสาท เป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี พ.ศ.

2535 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดประเภทการเจ็บป่วยตามเกณฑ์เพื่อใช้บันทึกเพื่อรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติในการวางแผนสุขภาพในระดับสากล

บัญชีจำแนกโรค ICD-10
A00-B99 โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค
C00-D48 เนื้องอก
D50-D89 เลือดและอวัยวะสร้างเลือด
E00-E90 ต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึม
F00-F99 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม
G00-G99 ระบบประสาท
H00-H59 ตาและอวัยวะเคียงลูกตา
H60-H95 หูและปุ่มกระดูกกกหู
I00-I99 ระบบไหลเวียนโลหิต
J00-J99 ระบบหายใจ
K00-K93 ระบบย่อยอาหาร
L00-L99 ผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
M00-M99 กล้ามเนื้อโครงร่างและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
N00-N99 ระบบสืบพันธุ์และระบบปัสสาวะ
O00-O99 การตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอด
P00-P96 ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิด
Q00-Q99 รูปพิการและความผิดปกติของโครโมโซม
R00-R99 ความผิดปกติจากทางคลินิกและห้องปฏิบัติการ
S00-T98 การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และอุบัติเหตุ
V01-Y98 สาเหตุภายนอก
Z00-Z99 ปัจจัยที่มีผลต่อสถานะสุขภาพ
U00-U99 รหัสเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ

G00-G99 - โรคของระบบประสาท

(G00-G09) โรคอักเสบของระบบประสาทส่วนกลาง

  • (G03) เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากสาเหตุอื่นและไม่ระบุสาเหตุ
    • (G03.0) เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่ไม่ทำให้มีหนอง
    • (G03.1) เยื่อหุ้มสมองอักเสบเรื้อรัง
    • (G03.2) เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดซ้ำชนิดไม่ร้าย (มอลลาเรต์)
    • (G03.8) เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากสาเหตุอื่นที่ระบุรายละเอียด
    • (G03.9) เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ไม่ระบุรายละเอียด
      • เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางอักเสบ (ไขสันหลัง) มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น

(G10-G13) การฝ่อทั้งร่างกายที่ส่งผลเบื้องต้นต่อระบบประสาทส่วนกลาง

  • (G11) โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานชนิดกรรมพันธุ์
    • (G11.0) โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานแบบไม่ลุกลามแต่กำเนิด
    • (G11.1) โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยที่เริ่มเมื่ออายุน้อย
      • โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยที่เริ่มเมื่ออายุน้อยร่วมกับอาการสั่นที่ไม่ทราบสาเหตุ
      • โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยที่เริ่มเมื่ออายุน้อยร่วมกับกล้ามเนื้อกระตุกสั่น (กล้ามเนื้อเสียการประสาทงานแบบฮันต์)
      • โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยที่เริ่มเมื่ออายุน้อยร่วมกับกิริยาสนองของเส้นเอ็นค้างอยู่
      • โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานแบบเฟรดริก (ถ่ายทอดทางออโตโซมแบบด้อย)
      • โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลังที่ถ่ายทอดทางโครโมโซมเพศแบบด้อย
    • (G11.2) โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยที่เริ่มเมื่ออายุมาก
    • (G11.3) โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยร่วมกับการซ่อมแซมดีเอ็นเอที่บกพร่อง
    • (G11.4) อัมพาตครึ่งล่างแบบเกร็งที่เป็นกรรมพันธุ์
    • (G11.8) โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานที่เป็นกรรมพันธุ์แบบอื่น
    • (G11.9) โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานที่เป็นกรรมพันธุ์ ไม่ระบุรายละเอียด
  • (G12) โรคกล้ามเนื้อฝ่อจากไขสันหลังและกลุ่มอาการที่เกี่ยวข้อง
    • (G12.0) โรคกล้ามเนื้อฝ่อจากไขสันหลังในทารก แบบที่ 1 (เวอร์ดนิก-ฮอฟฟ์มาน)
    • (G12.1) โรคกล้ามเนื้อฝ่อจากไขสันหลังแบบอื่นที่เป็นกรรมพันธุ์
      • อัมพาตก้านสมองส่วนท้ายชนิดลุกลามในเด็ก (ฟาซิโอ-ลอนเด)
      • โรคกล้ามเนื้อฝ่อจากไขสันหลังแบบผู้เยาว์ แบบที่ 3 (คูเกลเบิร์ก-วีแลนเดอร์)
    • (G12.2) โรคเซลล์ประสาทสั่งการ
      • โรคเซลล์ประสาทสั่งการที่เป็นกันในครอบครัว
      • อะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส
      • แลเทอรัล สเกลอโรซิสปฐมภูมิ
      • อัมพาตก้านสมองส่วนท้ายชนิดลุกลาม
      • โรคกล้ามเนื้อฝ่อจากไขสันหลังชนิดลุกลาม

(G20-G26) ความผิดปกติทางเอกซ์ตราพีระมิดและการเคลื่อนไหว

  • (G21) พาร์คินโซนิซึมแบบทุติยภูมิ
    • (G21.0) กลุ่มอาการแบบร้ายจากยารักษาโรคจิต
    • (G21.3) พาร์คินโซนิซึมแบบทุติยภูมิอื่นที่เกิดจากยา
  • (G23) โรคเสื่อมของสมองส่วนเบซัล แกงเกลีย
    • (G23.0) โรคฮาลเลอร์วอร์เดน-สแปตส์
    • (G23.1) โรคอัมพาตประสาทตาส่วนซูปรานิวเคลียร์แบบลุกลาม (สตีล-ริชาร์ดสัน-โอลซิวสกี)
    • (G23.2) โรคเสื่อมสไตรเอโทไนกรัล
    • (G23.8) โรคเสื่อมอื่นที่ระบุรายละเอียดของสมองส่วนเบซัล แกงเกลีย
    • (G23.9) โรคเสื่อมของสมองส่วนเบซัล แกงเกลีย ไม่ระบุรายละเอียด
  • (G24) ดิสโตเนีย
    • (G24.0) ดิสโตเนียที่เกิดจากยา
    • (G24.1) ดิสโตเนียชนิดที่เป็นกันในครอบครัวไม่ทราบสาเหตุ
    • (G24.2) ดิสโตเนียชนิดที่ไม่เป็นกันในครอบครัวไม่ทราบสาเหตุ
    • (G24.3) อาการคอบิดแบบกล้ามเนื้อหดเกร็ง
    • (G24.4) ดิสโตเนียที่ปากและหน้าไม่ทราบสาเหตุ
      • การเคลื่อนไหวผิดปกติที่ปากและหน้าจากยา
    • (G24.5) กล้ามเนื้อหนังตากระตุก
    • (G24.8) ดิสโตเนียอื่น
    • (G24.9) ดิสโตเนีย ไม่ระบุรายละเอียด
      • การเคลื่อนไหวผิดปกติจากยา มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
  • (G25) ความผิดปกติอื่นทางเอกซ์ตราพีระมิดและการเคลื่อนไหว
    • (G25.0) อาการสั่นไม่ทราบสาเหตุ
    • (G25.1) อาการสั่นจากยา
    • (G25.2) อาการสั่นแบบอื่นที่ระบุรายละเอียด
    • (G25.3) กล้ามเนื้อกระตุก
    • (G25.4) โคเรียจากยา
    • (G25.5) โคเรียแบบอื่น
    • (G25.6) ติ๊กจากยาและติ๊กจากสาเหตุทางกายแบบอื่น
    • (G25.8) ความผิดปกติอื่นที่ระบุรายละเอียดทางเอกซ์ตราพีระมิดและการเคลื่อนไหว
      • กลุ่มอาการขาไม่อยู่นิ่ง
      • กลุ่มอาการคนตัวแข็งทื่อ
    • (G25.9) ความผิดปกติทางเอกซ์ตราพีระมิดและการเคลื่อนไหว ไม่ระบุรายละเอียด
  • (G26) ความผิดปกติทางเอกซ์ตราพีระมิดและการเคลื่อนไหวในโรคที่จำแนกไว้ที่อื่น

(G30-G32) โรคเสื่อมอื่นของระบบประสาท

  • (G32) ความเสื่อมอื่นของระบบประสาทในโรคที่จำแนกไว้ที่อื่น
    • (G32.0) ไขสันหลังเสื่อมแบบรวมกึ่งเฉียบพลันในโรคที่จำแนกไว้ที่อื่น
    • (G32.8) ความเสื่อมอื่นที่ระบุรายละเอียดของระบบประสาทในโรคที่จำแนกไว้ที่อื่น

(G35-G37) โรคเยื่อหุ้มไมอีลินของระบบประสาทส่วนกลางถูกทำลาย

  • (G36) โรคเยื่อหุ้มไมอีลินถูกทำลายแบบแพร่กระจายเฉียบพลันแบบอื่น
    • (G36.0) โรคเส้นประสาทตากับไขสันหลังอักเสบ (ดีวิก)
    • (G36.1) โรคสมองสีขาวอักเสบและมีเลือดออกแบบเฉียบพลันและกึ่งเฉียบพลัน (เฮิรสต์)
    • (G36.8) โรคเยื่อหุ้มไมอีลินถูกทำลายแบบแพร่กระจายเฉียบพลันอื่นที่ระบุรายละเอียด
    • (G36.9) โรคเยื่อหุ้มไมอีลินถูกทำลายแบบแพร่กระจายเฉียบพลัน ไม่ระบุรายละเอียด
  • (G37) โรคเยื่อหุ้มไมอีลินของระบบประสาทส่วนกลางถูกทำลายแบบอื่น
    • (G37.0) โรคสเกลอโรซิสแบบแพร่กระจาย
    • (G37.1) โรคเยื่อหุ้มไมอีลินส่วนกลางของคอร์พัส คาลโลซัมถูกทำลาย
    • (G37.2) โรคเยื่อหุ้มไมอีลินส่วนกลางของสมองส่วนพอนส์ถูกทำลาย
    • (G37.3) โรคไขสันหลังอักเสบตามขวางเฉียบพลันในโรคเยื่อหุ้มไมอีลินของระบบประสาทส่วนกลางถูกทำลาย
    • (G37.4) โรคไขสันหลังอักเสบมีเนื้อตายแบบกึ่งเฉียบพลัน
    • (G37.5) โรคสเกลอโรซิสร่วมศูนย์กลาง (บาโล)
    • (G37.8) โรคเยื่อหุ้มไมอีลินของระบบประสาทส่วนกลางถูกทำลายแบบอื่นที่ระบุรายละเอียด
    • (G37.9) โรคเยื่อหุ้มไมอีลินของระบบประสาทส่วนกลางถูกทำลาย ไม่ระบุรายละเอียด

(G40-G47) ความผิดปกติที่เกิดเป็นครั้งคราวและเป็นพักๆ

โรคลมชัก

  • (G40) โรคลมชัก
    • (G40.0) โรคลมชักที่ไม่ทราบสาเหตุเฉพาะตำแหน่ง (เฉพาะจุด) (บางส่วน) และกลุ่มอาการลมชักที่มีการชักเริ่มต้นเฉพาะตำแหน่ง
    • (G40.1) โรคลมชักที่มีอาการเฉพาะตำแหน่ง (เฉพาะจุด) (บางส่วน) และกลุ่มอาการลมชักที่มีการชักแบบซิมเพิล พาร์เชียล
    • (G40.2) โรคลมชักที่มีอาการเฉพาะตำแหน่ง (เฉพาะจุด) (บางส่วน) และกลุ่มอาการลมชักที่มีการชักแบบคอมเพล็กซ์ พาร์เชียล
    • (G40.3) โรคลมชักทั้งตัวไม่ทราบสาเหตุและกลุ่มอาการลมชัก
      • ไม่ร้าย:
        • โรคลมชักแบบกล้ามเนื้อกระตุกในทารก
        • การชักในทารกแรกเกิด (ที่เป็นกันในครอบครัว)
      • โรคลมชักแบบอับซองส์วัยเด็ก (พิกโนเล็ปซี)
      • โรคลมชักที่ชักแบบกรองด์ มาลขณะตื่น
      • วัยเยาว์:
        • โรคลมชักแบบอับซองส์
        • โรคลมชักแบบกล้ามเนื้อกระตุกสั่น (อิมพัลซีฟ เปอตีต์ มาล)
      • การชักที่ไม่มีรูปแบบจำเพาะในโรคลมชัก:
        • ไม่เกร็ง
        • กระตุก
        • กล้ามเนื้อกระตุก
        • เกร็ง
        • เกร็ง-กระตุก
    • (G40.4) โรคลมชักทั้งตัวแบบอื่นและกลุ่มอาการลมชัก
      • โรคลมชักร่วมกับ:
        • ไม่มีกล้ามเนื้อกระตุก
        • ชักแบบกล้ามเนื้อกระตุกและไม่หยุดนิ่ง
      • อาการเกร็งในเด็ก
      • กลุ่มอาการเล็นน็อกซ์-กาสเตาต์
      • เกิดอาการแบบสงบ
      • โรคสมองมีอาการกล้ามเนื้อกระตุกแต่แรก
      • กลุ่มอาการเวสต์
    • (G40.5) กลุ่มอาการลมชักแบบพิเศษ
      • โรคลมชักบางส่วนที่เกิดต่อเนื่อง (โคเซฟนิคอฟ)
    • (G40.6) การชักแบบกรองด์ มาล ไม่ระบุรายละเอียด (เกิดร่วมหรือไม่ร่วมกับการชักแบบเปอตีต์ มาล)
    • (G40.7) การชักแบบเปอตีต์ มาล ไม่ระบุรายละเอียด ไม่เกิดร่วมกับการชักแบบกรองด์ มาล
    • (G40.8) โรคลมชักแบบอื่น
      • โรคและกลุ่มอาการลมชักที่ไม่ระบุว่าเป็นเฉพาะจุดหรือเป็นทั้งตัว
    • (G40.9) โรคลมชัก ไม่ระบุรายละเอียด

ปวดศีรษะ

  • (G44) กลุ่มอาการปวดศีรษะแบบอื่น
    • (G44.0) กลุ่มอาการปวดศีรษะแบบคลัสเตอร์
    • (G44.1) ปวดศีรษะจากหลอดเลือด มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • (G44.2) ปวดศีรษะจากความเครียด
    • (G44.3) ปวดศีรษะเรื้อรังหลังได้รับบาดเจ็บ
    • (G44.4) ปวดศีรษะจากยา มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • (G44.8) กลุ่มอาการปวดศีรษะอื่นที่ระบุรายละเอียด

หลอดเลือดสมอง

  • (G46) กลุ่มอาการหลอดเลือดของสมองในโรคหลอดเลือดสมอง
    • (G46.0) กลุ่มอาการหลอดเลือดแดงมิดเดิล ซีริบรัล
    • (G46.1) กลุ่มอาการหลอดเลือดแดงแอนทีเรีย ซีริบรัล
    • (G46.2) กลุ่มอาการหลอดเลือดแดงโพสทีเรีย ซีริบรัล
    • (G46.3) กลุ่มอาการหลอดเลือดสมองบริเวณก้านสมอง
      • กลุ่มอาการเบเนดิกต์
      • กลุ่มอาการโคลด
      • กลุ่มอาการโฟวิลล์
      • กลุ่มอาการมิลลาร์ด-กูเบลอร์
      • กลุ่มอาการวอลเล็นเบอร์ก
      • กลุ่มอาการเวเบอร์
    • (G46.4) กลุ่มอาการหลอดเลือดสมองบริเวณสมองน้อย
    • (G46.5) กลุ่มอาการลาคูนาร์เกี่ยวกับเฉพาะการเคลื่อนไหว
    • (G46.6) กลุ่มอาการลาคูนาร์เกี่ยวกับเฉพาะความรู้สึก
    • (G46.7) กลุ่มอาการลาคูนาร์แบบอื่น
    • (G46.8) กลุ่มอาการอื่นของหลอดเลือดของสมองในโรคหลอดเลือดสมอง

ความผิดปกติของการนอนหลับ

(G50-G59) ความผิดปกติของเส้นประสาท รากประสาท และข่ายประสาท

  • (G50) ความผิดปกติของเส้นประสาทไตรเจมินัล
    • (G50.0) อาการปวดประสาทไตรเจมินัล
  • (G58) โรคเส้นประสาทเส้นเดียวอื่น
    • (G58.0) โรคเส้นประสาทระหว่างซี่โครง
    • (G58.7) เส้นประสาทอักเสบเส้นเดียวหลายแห่ง
    • (G58.8) โรคอื่นที่ระบุรายละเอียดของเส้นประสาทเส้นเดียว
    • (G58.9) โรคเส้นประสาทเส้นเดียว ไม่ระบุรายละเอียด
  • (G59) โรคเส้นประสาทเส้นเดียวในโรคที่จำแนกไว้ที่อื่น

(G60-G64) โรคเส้นประสาทหลายเส้นและความผิดปกติอื่นของระบบประสาทส่วนปลาย

  • (G60) โรคเส้นประสาทที่เป็นกรรมพันธุ์และที่ไม่ทราบสาเหตุ
    • (G60.0) โรคเส้นประสาทควบคุมการเคลื่อนไหวและรับความรู้สึกที่เป็นกรรมพันธุ์
      • โรคชาร์โคต์-มารี-ทูท
      • โรคเดเจอรีน-โซต์ตาส์
      • โรคเส้นประสาทควบคุมการเคลื่อนไหวและรับความรู้สึกที่เป็นกรรมพันธุ์ แบบ 1-4
      • โรคของเส้นประสาทแบบโตเกินของทารกแรกเกิด
      • กล้ามเนื้อที่ควบคุมโดยเส้นประสาทพีโรเนียลฝ่อ (แบบแอ็กซอน) (แบบโตเกิน)
      • กลุ่มอาการรูส์ซี-เลวี
    • (G60.1) โรคเรฟซัม
    • (G60.2) โรคเส้นประสาทที่เกิดร่วมกับภาวะกล้ามเนื้อเสียการประสานงานที่เป็นกรรมพันธุ์
    • (G60.3) โรคเส้นประสาทชนิดลุกลามที่ไม่ทราบสาเหตุ
    • (G60.8) โรคเส้นประสาทอื่นที่เป็นกรรมพันธุ์และที่ไม่ทราบสาเหตุ
      • โรคมอร์แวน
      • กลุ่มอาการนิลาตัน
      • โรคเส้นประสาทรับความรู้สึก
    • (G60.9) โรคเส้นประสาทที่เป็นกรรมพันธุ์และที่ไม่ทราบสาเหตุ ไม่ระบุรายละเอียด
  • (G61) การอักเสบของเส้นประสาทหลายเส้น
  • (G62) โรคเส้นประสาทหลายเส้นแบบอื่น
    • (G62.0) โรคเส้นประสาทหลายเส้นจากยา
    • (G62.1) โรคเส้นประสาทหลายเส้นจากสุรา
    • (G62.2) โรคเส้นประสาทหลายเส้นจากสารพิษอื่น
    • (G62.8) โรคเส้นประสาทหลายเส้นอื่นที่ระบุรายละเอียด
    • (G62.9) โรคเส้นประสาทหลายเส้น ไม่ระบุรายละเอียด
      • โรคเส้นประสาท มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น

(G70-G73) โรคของกล้ามเนื้อและรอยต่อกล้ามเนื้อกับประสาท

  • (G70) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายและความผิดปกติอื่นของรอยต่อกล้ามเนื้อกับประสาท
  • (G71) ความผิดปกติปฐมภูมิของกล้ามเนื้อ
    • (G71.0) โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยน
      • โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนแบบไม่ร้าย (โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนแบบเบ็กเกอร์)
      • โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนบริเวณสแกพูโลพีโรเนียลแบบไม่ร้ายร่วมกับมีการหดค้างแต่แรก (โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนแบบอีเมอรี-ไตรฟัสส์)
      • โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนส่วนปลาย
      • โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนบริเวณเฟซิโอสแกพูโลฮิวเมอรัล
      • โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนส่วนโอบแขนขา
      • โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนของตา
      • โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนของตาและคอหอย
      • โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนบริเวณสแกพูโลพีโรเนียล
      • โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนรุนแรง (โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนแบบดูชีนน์)
    • (G71.1) โรคกล้ามเนื้อหดเกร็งผิดปกติ
      • กล้ามเนื้อหดเกร็งจากการเจริญผิดเพี้ยน (สไตเนิร์ต)
      • กล้ามเนื้อหดเกร็งแบบคอนโดรดิสโตรฟิก
      • กล้ามเนื้อหดเกร็งจากยา
      • กล้ามเนื้อหดเกร็งชนิดมีอาการ
      • กล้ามเนื้อหดเกร็งแต่กำเนิด - มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น:
      • กล้ามเนื้อหดเกร็งแต่กำเนิด - ถ่ายทอดแบบลักษณะเด่น (ท็อมเซน)
      • กล้ามเนื้อหดเกร็งแต่กำเนิด - ถ่ายทอดแบบลักษณะด้อย (เบ็กเกอร์)
      • ประสาทกล้ามเนื้อหดเกร็ง (ไอแซ็กส์)
      • กล้ามเนื้อหดเกร็งแต่กำเนิดเสมือน
      • กล้ามเนื้อหดเกร็งเทียม
    • (G71.2) โรคของกล้ามเนื้อแต่กำเนิด
      • โรคแกนกลาง
      • โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนแต่กำเนิด
      • โรคของกล้ามเนื้อแบบไมโอทูบูลาร์ (เซ็นโทรนิวเคลียร์)
      • ใยกล้ามเนื้อไม่ได้สัดส่วน
      • โรคแกนเล็ก
      • โรคหลายแกน
      • โรคของกล้ามเนื้อแบบนีมาลิน
    • (G71.3) โรคของกล้ามเนื้อจากไมโทคอนเดรีย มิได้จำแนกไว้ที่ใด
  • (G72) โรคอื่นของกล้ามเนื้อ
  • (G73) ความผิดปกติของกล้ามเนื้อและรอยต่อกล้ามเนื้อกับประสาทในโรคที่จำแนกไว้ที่อื่น
    • (G73.0) กลุ่มอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงในโรคต่อมไร้ท่อ
    • (G73.1) กลุ่มอาการแลมเบิร์ต-อีตัน
    • (G73.2) กลุ่มอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงอื่นในโรคเนื้องอก
    • (G73.3) กลุ่มอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงในโรคอื่นที่จำแนกไว้ที่อื่น
    • (G73.4) กลุ่มอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงในโรคติดเชื้อและปรสิตที่จำแนกไว้ที่อื่น
    • (G73.5) โรคของกล้ามเนื้อในโรคต่อมไร้ท่อ
    • (G73.6) โรคของกล้ามเนื้อในโรคทางเมตะบอลิก
    • (G73.7) โรคของกล้ามเนื้อในโรคอื่นที่จำแนกไว้ที่อื่น

(G80-G83) อัมพาตสมองใหญ่และกลุ่มอาการอัมพาตอื่น

  • (G81) อัมพาตครึ่งซีก
    • (G81.0) อัมพาตครึ่งซีกแบบปวกเปียก
    • (G81.1) อัมพาตครึ่งซีกแบบหดเกร็ง
    • (G81.9) อัมพาตครึ่งซีก ไม่ระบุรายละเอียด
  • (G82) อัมพาตครึ่งล่างและอัมพาตแขนขาสองข้าง
    • (G82.0) อัมพาตครึ่งล่างแบบปวกเปียก
    • (G82.1) อัมพาตครึ่งล่างแบบหดเกร็ง
    • (G82.2) อัมพาตครึ่งล่าง ไม่ระบุรายละเอียด
      • อัมพาตขาทั้งสองข้าง มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • อัมพาตครึ่งล่าง มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
    • (G82.3) อัมพาตแขนขาสองข้างแบบปวกเปียก
    • (G82.4) อัมพาตแขนขาสองข้างแบบหดเกร็ง
    • (G82.5) อัมพาตแขนขาสองข้าง ไม่ระบุรายละเอียด
      • อัมพาตแขนขาสองข้าง มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
  • (G83) กลุ่มอาการอัมพาตแบบอื่น
    • (G83.0) อัมพาตแขนสองข้าง
    • (G83.1) อัมพาตขาเดียว
    • (G83.2) อัมพาตแขนเดียว
    • (G83.3) อัมพาตข้างเดียว ไม่ระบุรายละเอียด
    • (G83.4) กลุ่มอาการรากประสาทคล้ายหางม้า
    • (G83.8) กลุ่มอาการอัมพาตอื่นที่ระบุรายละเอียด
      • อัมพาตแบบทอดด์ (หลังเป็นลมชัก)
    • (G83.9) กลุ่มอาการอัมพาต ไม่ระบุรายละเอียด

(G90-G99) ความผิดปกติอื่นของระบบประสาท

  • (G94) ความผิดปกติของสมองในโรคที่จำแนกไว้ที่อื่น
  • (G95) โรคอื่นของไขสันหลัง
    • (G95.0) ไซริงโกไมอิเลียและไซริงโกบัลเบีย
    • (G95.1) โรคไขสันหลังจากหลอดเลือด
    • (G95.2) ไขสันหลังถูกกดทับ ไม่ระบุรายละเอียด
    • (G95.8) โรคอื่นที่ระบุรายละเอียดของไขสันหลัง
    • (G95.9) โรคของไขสันหลัง ไม่ระบุรายละเอียด
      • โรคไขสันหลัง มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
  • (G97) ความผิดปกติของระบบประสาทหลังทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่อื่น
    • (G97.0) น้ำไขสันหลังรั่วจากการเจาะไขสันหลัง
    • (G97.1) ปฏิกิริยาอื่นต่อการเจาะไขสันหลัง
    • (G97.2) ความดันในกะโหลกศีรษะต่ำหลังทำทางลัดโพรงสมอง
    • (G97.8) ความผิดปกติแบบอื่นของระบบประสาทหลังทำหัตถการ
    • (G97.9) ความผิดปกติของระบบประสาทหลังทำหัตถการ ไม่ระบุรายละเอียด
  • (G99) ความผิดปกติแบบอื่นของระบบประสาทในโรคที่จำแนกไว้ที่อื่น

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

Tags:

โรคของระบบประสาท G00-G99 - โรคของระบบประสาท ดูเพิ่มโรคของระบบประสาท แหล่งข้อมูลอื่นโรคของระบบประสาทICD-10บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้ององค์การอนามัยโลกอาการอาการแสดงโรค

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

เอสเธอร์ สุปรีย์ลีลาเกมพีระมิด (ละครโทรทัศน์เกาหลีใต้)พฤษภาคมFBสฤษดิ์ ธนะรัชต์รายชื่อเครื่องดนตรีจิรภพ ภูริเดชชวลิต ยงใจยุทธเงินตราณรัชต์ เศวตนันทน์1มหาวิทยาลัยมหิดลเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พรรคภูมิใจไทยหลิน เกิงซินจังหวัดเพชรบูรณ์แทททูคัลเลอร์อาลิง โฮลันนิวรณ์พรรคก้าวไกลประเทศมาเลเซียพิจิตตรา สิริเวชชะพันธ์ไวยาวัจกรฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศสรายชื่อสัตว์เฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคจัน ดารา (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)กระทรวงในประเทศไทยรายชื่อตัวละครในดาบพิฆาตอสูรอุรัสยา เสปอร์บันด์มิตร ชัยบัญชาภูภูมิ พงศ์ภาณุภาคสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโรร่มเกล้า ธุวธรรม69 (ท่วงท่าเพศสัมพันธ์)โปรแกรมเลียนแบบสงครามเย็นสโมสรฟุตบอลเชลซีลือชัย งามสมประยุทธ์ จันทร์โอชาสุพิศาล ภักดีนฤนาถชนาธิป สรงกระสินธ์โป๊กเกอร์บาสเกตบอลอดอล์ฟ ฮิตเลอร์พระคเณศสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดดาวิกา โฮร์เน่หอแต๋วแตก (ภาพยนตร์ชุด)จังหวัดราชบุรีสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงจังหวัดสระบุรีประเทศมัลดีฟส์เครยอนชินจังศรุต วิจิตรานนท์ซน ฮึง-มินเดนิส เจลีลชา คัปปุนงูสามเหลี่ยมรายชื่อนายกรัฐมนตรีไทยสยาม ศิริมงคลโมเสสวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยออลเทอร์นาทิฟร็อกสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีกุลฑีรา ยอดช่างคิม มิน-แจ (นักฟุตบอล)โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าจังหวัดสุรินทร์ร่างทรง (ภาพยนตร์)ปัญญา นิรันดร์กุลเมธวิน โอภาสเอี่ยมขจรนกกะรางหัวขวานหลวงปู่ดู่ พฺรหฺมปญฺโญยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกการบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)Aรายชื่อตัวละครในขอต้อนรับสู่ห้องเรียนนิยม (เฉพาะ) ยอดคนสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ🡆 More