อิเล็กโตรเนกาทิวิตี

อิเล็กโตรเนกาติวิตี (อังกฤษ: electronegativity, χ , สภาพไฟฟ้าลบ) เป็นค่าที่แสดงถึงความสามารถของอะตอมในการที่จะดึงอิเล็กตรอนเข้าหาตัวเองเมื่อเกิดพันธะเคมี (chemical bond) ทั้งนี้ มีการเสนอวิธีการแสดงอิเล็กโตรเนกาทิวิตีหลายวิธี อาทิ เพาลิง สเกล (Pauling scale) ถูกเสนอในปี ค.ศ.

1932">ค.ศ. 1932 มูลลิเกน สเกล (Mulliken scale) ถูกเสนอในปี ค.ศ. 1934 และ ออลล์เรด-โรโชสเกล (Allred-Rochow scale)

การคำนวณความต่างของอิเล็กโทรเนกาทิวิตีของ เพาลิง ระหว่างอะตอม A และอะตอม B

      อิเล็กโตรเนกาทิวิตี 

เมื่อพลังงานพันธะ, Ed ของพันธะ A–B, A–A และ B–B ในหน่วย อิเล็กตรอนโวลต์, ค่า (eV)–½ แสดงเพื่อเลี่ยงการพิจารณาหน่วย เช่น ความต่างของอิเล็กโทรเนกาทิวิตีโดยเพาลิงระหว่างไฮโดรเจนและโบรมีน เท่ากับ 0.73 (พลังงานพันธะ: H–Br, 3.79 eV; H–H, 4.52 eV; Br–Br 2.00 eV)

แนวโน้มของอิเล็กโตรเนกาทิวิตี

ธาตุเคมี แต่ละตัวจะมีคุณลักษณะที่มีค่า อิเล็กโตรเนกทิวิตี ระหว่าง 0 ถึง 4 เพาลิง สเกล โดยทั่วไประดับขั้นของ อิเล็กโตรเนกาทิวิตี จะลดลงตามหมู่ของธาตุในตารางธาตุ และเพิ่มขึ้นตามคาบในตารางธาตุ ดังตารางธาตุ ดังแสดงข้างล่างนี้

รัศมีอะตอม ลดลง → พลังงานไอออไนเซชัน เพิ่มขึ้น → อิเล็กโตรเนกทิวิตี เพิ่มขึ้น →
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
หมู่ →
↓ คาบ
1 H
2.20
He
 
2 Li
0.98
Be
1.57
B
2.04
C
2.55
N
3.04
O
3.44
F
3.98
Ne
 
3 Na
0.93
Mg
1.31
Al
1.61
Si
1.90
P
2.19
S
2.58
Cl
3.16
Ar
 
4 K
0.82
Ca
1.00
Sc
1.36
Ti
1.54
V
1.63
Cr
1.66
Mn
1.55
Fe
1.83
Co
1.88
Ni
1.91
Cu
1.90
Zn
1.65
Ga
1.81
Ge
2.01
As
2.18
Se
2.55
Br
2.96
Kr
3.00
5 Rb
0.82
Sr
0.95
Y
1.22
Zr
1.33
Nb
1.6
Mo
2.16
Tc
1.9
Ru
2.2
Rh
2.28
Pd
2.20
Ag
1.93
Cd
1.69
In
1.78
Sn
1.96
Sb
2.05
Te
2.1
I
2.66
Xe
2.60
6 Cs
0.79
Ba
0.89
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี  Lu
1.27
Hf
1.3
Ta
1.5
W
2.36
Re
1.9
Os
2.2
Ir
2.20
Pt
2.28
Au
2.54
Hg
2.00
Tl
1.62
Pb
2.33
Bi
2.02
Po
2.0
At
2.2
Rn
2.2
7 Fr
>0.79
Ra
0.9
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี  Lr
1.3
Rf
 
Db
 
Sg
 
Bh
 
Hs
 
Mt
 
Ds
 
Rg
 
Cn
 
Nh
 
Fl
 
Mc
 
Lv
 
Ts
 
Og
 

อิเล็กโตรเนกาทิวิตี  La
1.1
Ce
1.12
Pr
1.13
Nd
1.14
Pm
1.13
Sm
1.17
Eu
1.2
Gd
1.2
Tb
1.1
Dy
1.22
Ho
1.23
Er
1.24
Tm
1.25
Yb
1.1
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี  Ac
1.1
Th
1.3
Pa
1.5
U
1.38
Np
1.36
Pu
1.28
Am
1.13
Cm
1.28
Bk
1.3
Cf
1.3
Es
1.3
Fm
1.3
Md
1.3
No
1.3

ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีที่แสดงเป็นค่าของธาตุในสถานะออกซิเดชันทั่วไป ดูเพิ่มเติม อิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

Tags:

อิเล็กโตรเนกาทิวิตี การคำนวณความต่างของอิเล็กโทรเนกาทิวิตีของ เพาลิง ระหว่างอะตอม A และอะตอม Bอิเล็กโตรเนกาทิวิตี แนวโน้มของอิเล็กโตรเนกาทิวิตี ดูเพิ่มอิเล็กโตรเนกาทิวิตี อ้างอิงอิเล็กโตรเนกาทิวิตีค.ศ. 1932ค.ศ. 1934พันธะเคมีภาษาอังกฤษอิเล็กตรอน

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

ทวิตเตอร์มหาวิทยาลัยศรีปทุมรายชื่อช่องที่มียอดติดตามสูงสุดในยูทูบหนังสือรุ่นพลอยนักเรียนหน้าหลักชาบี อาลอนโซสหประชาชาติกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)จักรพงษ์ แสงมณีเป็นต่อพัชรวาท วงษ์สุวรรณประเทศอินโดนีเซียเจริญ สิริวัฒนภักดีเซเว่น อีเลฟเว่นพัชราภา ไชยเชื้อไททานิค (ภาพยนตร์)เปรียญธรรม 9 ประโยคเอลนีโญวันมูหะมัดนอร์ มะทาภูวินทร์ ตั้งศักดิ์ยืนสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศพรหมวิหาร 4สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)ชญานิษฐ์ ชาญสง่าเวชจังหวัดเพชรบุรีเสรีพิศุทธ์ เตมียเวสรัฐของสหรัฐยากูซ่าพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชากรุงเทพมหานครและปริมณฑลปรมาจารย์ลัทธิมาร (ละครโทรทัศน์)คนลึกไขปริศนาลับความเสียวสุดยอดทางเพศเซี่ยงไฮ้รายชื่อยุทโธปกรณ์ในกองทัพบกไทยราชกิจจานุเบกษาการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475กองบัญชาการตำรวจนครบาลซอร์ซมิวสิกเศรษฐา ทวีสินประเทศบังกลาเทศประเทศอิหร่านมังกี้ ดี. ลูฟี่อสมทตะวัน วิหครัตน์จักรราศีสามก๊กโป๊กเกอร์ธีรดนย์ ศุภพันธุ์ภิญโญจังหวัดเชียงใหม่นิษฐา คูหาเปรมกิจจังหวัดสมุทรปราการเมืองพัทยาภาคเหนือ (ประเทศไทย)สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตาGenwit อัจฉริยะพันธุ์ใหม่ภรภัทร ศรีขจรเดชาธนวรรธน์ วรรธนะภูติกรณิศ เล้าสุบินประเสริฐณัฐวรรธน์ จิโรชน์ธิกุลภัทรานิษฐ์ ลิ้มปติยากรเกศริน ชัยเฉลิมพลเดือนประเทศมัลดีฟส์แอทลาสตัวเลขโรมันจีเฟรนด์รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตพระเจ้านันทบุเรงบางกอกอารีนาจังหวัดฉะเชิงเทรา🡆 More