สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี

จังหวัดเพชรบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ.

2566) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดเพชรบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายแข ยูนิพันธ์

  • นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 7 สมัย ได้แก่ นายยุทธ อังกินันทน์
  • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดเพชรบุรี คือ นางธิวัลรัตน์ อังกินันทน์ (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)
  • ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบุรีและอำเภอบ้านแหลม (ยกเว้นตำบลบางตะบูน ตำบลบางตะบูนออก และตำบลบ้านแหลม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่ายางและอำเภอชะอำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านลาด, อำเภอแก่งกระจาน, อำเภอหนองหญ้าปล้อง, อำเภอเขาย้อย และอำเภอบ้านแหลม (เฉพาะตำบลบางตะบูน ตำบลบางตะบูนออก และตำบลบ้านแหลม)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี  3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบุรีและอำเภอบ้านแหลม (ยกเว้นตำบลบางตะบูน ตำบลบางตะบูนออก และตำบลบ้านแหลม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่ายางและอำเภอชะอำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านลาด, อำเภอแก่งกระจาน, อำเภอหนองหญ้าปล้อง, อำเภอเขาย้อย และอำเภอบ้านแหลม (เฉพาะตำบลบางตะบูน ตำบลบางตะบูนออก และตำบลบ้านแหลม)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี  3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายแข ยูนิพันธ์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ร้อยเอก หลวงบำราบประทุษฐ (นิล จุฑานนท์)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายทองพูน อังกินันทน์
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 พันเอก พระยาสุรพันธเสนี (อิ้น บุนนาค)
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายเยื่อ พลจันทร์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 พันโท พโยม จุลานนท์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 ขุนวิเทศดรุณการ (ชด มหาขันธ์)

ชุดที่ 8–13; พ.ศ. 2500–2522

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายชาติ วัฒนางกูร นายพานิช สัมภวคุปต์
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายผาด อังกินันทน์ นายพานิช สัมภวคุปต์
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายเฉลิม ใหญ่กว่าวงษ์ นายพานิช สัมภวคุปต์
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายปิยะ อังกินันทน์ นายอุดม ผาสุก
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายภิมุข อังกินันทน์ นายพานิช สัมภวคุปต์
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายปิยะ อังกินันทน์ นายพานิช สัมภวคุปต์

ชุดที่ 14–20; พ.ศ. 2526–2539

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายภิมุข อังกินันทน์ นายยุทธ อังกินันทน์ นายปิยะ อังกินันทน์
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายอันธีร์ อักษรนันทน์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายปิยะ อังกินันทน์
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายธานี ยี่สาร
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายธานี ยี่สาร นายยุทธ อังกินันทน์ นายอลงกรณ์ พลบุตร
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายธานี ยี่สาร
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายพิเชษฐ์ สถิรชวาล นายปิยะ อังกินันทน์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายอลงกรณ์ พลบุตร
2 นายธานี ยี่สาร
3 นายอภิชาติ สุภาแพ่ง

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายอลงกรณ์ พลบุตร
นายอภิชาติ สุภาแพ่ง
นายกัมพล สุภาแพ่ง

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายอรรถพร พลบุตร นายกัมพล สุภาแพ่ง นายอภิชาติ สุภาแพ่ง
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายกฤษณ์ แก้วอยู่
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายสาธิต อุ๋ยตระกูล
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายสุชาติ อุสาหะ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นางธิวัลรัตน์ อังกินันทน์ นายฤกษ์ อยู่ดี จ่าอากาศเอก อภิชาติ แก้วโกศล

รูปภาพ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Tags:

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี ประวัติศาสตร์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี รูปภาพสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี อ้างอิงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี แหล่งข้อมูลอื่นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรีสภาผู้แทนราษฎรไทย

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

รายการรหัสไปรษณีย์ไทยโรงพยาบาลในประเทศไทยเลเซราฟิมสมเด็จพระเอกาทศรถรายชื่อตอนในวันพีซ (อนิเมะ)ภัทรานิษฐ์ ลิ้มปติยากรสโมสรฟุตบอลอัลอะฮ์ลีอัสซะอูดีเกย์พิชญ์นาฏ สาขากรฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่นรายพระนามพระพุทธเจ้าหมาวรกมล ชาเตอร์จรินทร์พร จุนเกียรติมิเกล อาร์เตตาคณาวุฒิ ไตรพิพัฒนพงษ์ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีเกตุเสพย์สวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยารถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยาพระคเณศจังหวัดนครศรีธรรมราชการ์ตูนไอริณ ศรีแกล้วธงประจำพระองค์เปรียญธรรม 9 ประโยคทักษิณ ชินวัตรพระศรีอริยเมตไตรยภรภัทร ศรีขจรเดชาวันวิสาขบูชารายชื่อภาพยนตร์ที่ทำเงินสูงสุดในประเทศไทยธนาคารกรุงไทยประเทศบังกลาเทศการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566ประเทศจอร์เจียอะพอลโล 13ณัฐฐชาช์ บุญประชมพระเจ้านันทบุเรงแอทลาสพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)หนุมานเฌอปราง อารีย์กุลราณี แคมเปนปฏิจจสมุปบาทวิดีโอพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลอินเทอร์เน็ตธนัท ฉิมท้วมเจริญ สิริวัฒนภักดีจังหวัดเพชรบูรณ์จังหวัดสมุทรสาครธีรดนย์ ศุภพันธุ์ภิญโญอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)กรภัทร์ เกิดพันธุ์จังหวัดตราดนิชคุณ ขจรบริรักษ์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/สสุจาริณี วิวัชรวงศ์พระไตรปิฎกจังหวัดของประเทศไทยพวงเพ็ชร ชุนละเอียดสมณศักดิ์สุภาพร มะลิซ้อนกรงกรรมจังหวัดนนทบุรีสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีICD-10ระบบสุริยะเมอร์ซีย์ไซด์ดาร์บีจังหวัดเลยบุพเพสันนิวาสพรรคเพื่อไทยประเทศเยอรมนีจังหวัดบึงกาฬประเทศโมนาโกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดาจักรราศี🡆 More