ภาษานอร์เวย์

ภาษานอร์เวย์ เป็นภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก เป็นภาษาราชการของประเทศนอร์เวย์ และมีความใกล้ชิดกับภาษาสวีเดนและเดนมาร์ก ภาษานอร์เวย์มีรูปแบบการเขียน 2 แบบ คือ บูกโมล (bokmål) (หมายถึง ภาษาหนังสือ) และ นีน็อชก์ (nynorsk) (หมายถึง ภาษานอร์เวย์ใหม่)

ภาษานอร์เวย์
norsk
ออกเสียง[ˈnɔʂk] (ภาคตะวันออก กลาง และเหนือ)
[ˈnɔʁsk] (ภาคตะวันตกและใต้)
ประเทศที่มีการพูดนอร์เวย์ (รวมสฟาลบาร์และยานไมเอน)
ชาติพันธุ์ชาวนอร์เวย์
จำนวนผู้พูด5.32 ล้านคน  (2020)
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
รูปแบบก่อนหน้า
ภาษานอร์สเก่า
  • ภาษานอร์สเก่าตะวันตก
    • ภาษานอร์เวย์เก่า
      • ภาษานอร์เวย์กลาง
        • ภาษานอร์เวย์
ระบบการเขียนอักษรละติน (อักษรเดนมาร์กและนอร์เวย์)
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์
คณะมนตรีนอร์ดิก
ผู้วางระเบียบสภาภาษานอร์เวย์
รหัสภาษา
ISO 639-1no — นอร์เวย์
nb — บูกโมล
nn — นีน็อชก์
ISO 639-2[[ISO639-3:nor — นอร์เวย์
nob — บูกโมล
nno — นีน็อชก์|nor — นอร์เวย์
nob — บูกโมล
nno — นีน็อชก์]]
ISO 639-3มีหลากหลาย:
nor – นอร์เวย์
nob – บูกโมล
nno – นีน็อชก์

การเขียนและสะกดคำ

ตัวอักษร

ในภาษานอร์เวย์นี้จะมี 29 ตัวอักษร

A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z Æ Ø Å
a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z æ ø å

ตัวอักษร c, q, w, x และ z นี้จะใช้ในเฉพาะคำยืมเท่านั้น เนื่องจากคำยืมนั้นถูกหลอมรวมเข้ากับภาษานอร์เวย์ การสะกดคำเหล่านั้นอาจเปลี่ยนไปเพื่อสะท้อนถึงการออกเสียงภาษานอร์เวย์และหลักการของการสะกดภาษานอร์เวย์ เช่น คำว่าม้าลายในภาษานอร์เวย์เขียนว่า sebra และเนื่องจากเหตุผลทางประวัติศาสตร์ ชื่อสกุลนอร์เวย์บางชื่ออาจจะเขียนโดยใช้ตัวอักษรเหล่านี้ด้วยเช่นกัน

ตัวอักษรบางตัวอาจจะมีการแก้ไขโดยการเพิ่มเครื่องหมายเสริมสัทอักษร: é, è, ê, ó, ò และ ô[ต้องการอ้างอิง] ในนีน็อชก์ ì และ ù และ ỳ ก็มีให้เห็นเป็นครั้งคราวเช่นกัน[ต้องการอ้างอิง] ตัวเครื่องหมายเสริมสัทอักษรนั้นไม่ได้บังคับ แต่ในบางกรณีอาจแยกความแตกต่างระหว่างความหมายที่แตกต่างกันของคำ เช่น: for ('สำหรับ/ถึง'), fór ('ไป'), fòr ('ร่อง') และ fôr ('อาหารสัตว์')[ต้องการอ้างอิง] คำยืมอาจสะกดด้วยตัวกำกับเสียงอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ü, á และ à[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

Tags:

ประเทศนอร์เวย์ภาษาสวีเดนภาษาเดนมาร์ก

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

อาแอ็ส มอนาโกพุฒิพงศ์ อัสสรัตนกุลโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยซูเปอร์เซ็นไตซีรีส์เสกสรรค์ ศุขพิมายรายชื่อตอนในเป็นต่อธนาคารกรุงไทยเลือดมังกรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาซีเนดีน ซีดานสโมสรฟุตบอลการท่าเรือจังหวัดเชียงรายสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดรายชื่อภาพยนตร์ในจักรวาลภาพยนตร์มาร์เวลจังหวัดปทุมธานีประเทศอังกฤษจังหวัดปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนาญาณี จงวิสุทธิ์นิวคาสเซิลอะพอนไทน์คณาวุฒิ ไตรพิพัฒนพงษ์มัตติน เออเดอโกร์พระโคตมพุทธเจ้ามุฮัมมัดวอลเลย์บอลสโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร)ประเทศฝรั่งเศสรายชื่อสกุลญี่ปุ่นที่ใช้มากที่สุดเดือนชานน สันตินธรกุลจังหวัดสุราษฎร์ธานีเจมี วาร์ดีฟุตซอลทีมชาติไทยนรวิชญ์ ฐิติเจริญรักษ์สโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลาวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหารสามก๊กประยุทธ์ จันทร์โอชากรมการปกครองสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามขนาดพื้นที่เขตพื้นที่การศึกษาสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดามหาวิทยาลัยสวนดุสิตเซเว่น อีเลฟเว่นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยภาคตะวันออก (ประเทศไทย)วันชนะ สวัสดีบีเอ็นเคโฟร์ตีเอตไตรลักษณ์ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีธนินท์ เจียรวนนท์ICD-10จังหวัดฉะเชิงเทรารางวัลนาฏราชญินธนนท์ จำเริญมหาวิทยาลัยมหิดลการ์ลัส ปุดจ์ดาโมนรายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรชวลิต ยงใจยุทธสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์สโมสรฟุตบอลเชียงราย ยูไนเต็ดตัวเลขโรมันพ.ศ. 2567ฟุตบอลโลกพิมประภา ตั้งประภาพรโรนัลโดสโมสรฟุตบอลลีดส์ยูไนเต็ดป๊อกเด้งสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)ฟุตซอลโลก 2016เครื่องคิดเลขบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2567.comเจมส์ มาร์ประเทศเยอรมนี🡆 More