ปฏิบัติการดรากูน

ปฏิบัติการดรากูน (ขั้นแรกเรียกว่า ปฏิบัติการแอนวิล) เป็นรหัสนามสำหรับฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ารุกฝรั่งเศสทางตอนใต้ เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ.

1944 ปฏิบัติการครั้งนี้ในช่วงแรกที่จะเปิดฉากพร้อมกับปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด การยกพลขึ้นบกของฝ่ายสัมพันธมิตรที่นอร์ม็องดี แต่กลับขาดแคลนทรัพยากรจนนำไปสู่การยกเลิกการยกพลขึ้นบกที่สอง ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1944 การยกพลขึ้นบกได้ถูกนำมาพิจารณาใหม่ ว่าท่าเรือนอร์ม็องดีจะไม่มีสมรรถภาพที่เพียงพอที่จะให้การสนับสนุนแก่กองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตร ในขณะเดียวกัน, กองบัญชาการระดับสูงฝรั่งเศสได้ผลักดันให้เกิดการรื้อฟื้นปฏิบัติการครั้งนี้ ซึ่งรวมไปถึงจำนวนขนาดใหญ่ของทหารฝรั่งเศส ผลลัพธ์คือ, ปฏิบัติการครั้งนี้ได้รับการอนุมัติในที่สุดในเดือนกรกฎาคมเพื่อที่จะดำเนินการในเดือนสิงหาคม

ปฏิบัติการดรากูน
ส่วนหนึ่งของ เขตเมดิเตอร์เรเนียนและตะวันออกกลาง และ เขตยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สอง
ปฏิบัติการดรากูน
แผนที่ของปฏิบัติการ
วันที่15 สิงหาคม – 14 กันยายน ค.ศ. 1944
สถานที่
ฝรั่งเศสทางตอนใต้, โกตดาซูร์
43°13′37.5″N 6°39′42″E / 43.227083°N 6.66167°E / 43.227083; 6.66167
ผล ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
กองกำลังเยอรมัน ได้ถอนกำลังออกจากส่วนใหญ่ของฝรั่งเศสทางตอนใต้ไปยังภูมิภาคโวฌ
คู่สงคราม

ปฏิบัติการดรากูน สหรัฐ


ปฏิบัติการดรากูน ฝรั่งเศส

ปฏิบัติการดรากูน สหราชอาณาจักร
ปฏิบัติการดรากูน แคนาดา[note]

    กองทัพอากาศ

ปฏิบัติการดรากูน ออสเตรเลีย
ปฏิบัติการดรากูน แอฟริกาใต้
ปฏิบัติการดรากูน โรดีเชียใต้

    กองทัพเรือ
ปฏิบัติการดรากูน กรีซ

ปฏิบัติการดรากูน ไรช์เยอรมัน


ปฏิบัติการดรากูน ฝรั่งเศสเขตวีชี
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

สหรัฐ เจคอบ แอล. เดเวอรส์

นาซีเยอรมนี โยฮันเนิส บลัสโควิทซ์

  • นาซีเยอรมนี ฟรีดริช วีส
    • นาซีเยอรมนี Wend von Wietersheim
  • นาซีเยอรมนี Kurt von der Chevallerie
หน่วยที่เกี่ยวข้อง

สหรัฐ Sixth Army Group

  • สหรัฐ Seventh Army
  • กองกำลังฝรั่งเศสเสรี Armée B
กองกำลังฝรั่งเศสเสรี French Resistance
ปฏิบัติการดรากูน Mediterranean Allied Air Forces
สหรัฐ Eighth Fleet

นาซีเยอรมนี Army Group G

  • นาซีเยอรมนี 19th Army
กำลัง
Initial landing
151,000 men
Entire invasion force
576,833 men
French Resistance
75,000 men
Initial landing
85,000–100,000 men
1,481 artillery pieces
Southern France
285,000–300,000 men
ความสูญเสีย

สหรัฐ 15,574 casualties

  • 7,301 killed
กองกำลังฝรั่งเศสเสรี more than 10,000 casualties
Total: ~25,574
นาซีเยอรมนี 7,000 killed
~21,000 wounded
131,250 captured
1,316 artillery pieces
Total: ~159,000

เป้าหมายของปฏิบัติการครั้งนี้คือการรักษาความปลอดภัยให้กับท่าเรือที่สำคัญของฝรั่งเศลบนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและเพิ่มการกดดันต่อกองกำลังเยอรมันโดยเปิดฉากแนวรบที่สอง ภายหลังเบื้องต้นบางส่วนของปฏิบัติการคอมมานโด รวมถึงทหารโดดร่มที่สองของบริติซจะทำการลงสู่บนแนวหลังข้าศึกเพื่อรักษาความปลอดภัยต่อการขนส่งที่สำคัญ กองทัพน้อยที่ 4 แห่งสหรัฐจะทำการยกพลขึ้นบกที่ชายหาดของโกตดาซูร์ภายใต้การคุ้มกันของกองเรือขนาดใหญ่ ตามด้วยหลายกองพลของกองทัพฝรั่สเศสบี พวกเขาต้องพบการต่อต้านของกองกำลังที่กระจัดจายของกองทัพเยอรมันกลุ่มจี ความอ่อนแอลงโดยการโยกย้ายกองพลไปยังแนวรบอื่นๆและการสับเปลี่ยนทหารด้วยออสลีเจียน (Ostlegionen) เป็นสามเท่าที่ติดตั้งด้วยเครื่องมือที่ล้าสมัย

มันได้ถูกขัดขวางโดยอำนาจทางอากาศของฝ่ายสัมพันธมิตรและการก่อการกำเริบในวงกว้างของขบวนการต่อต้านฝรั่งเศส กองกำลังเยอรมันที่อ่อนแอลงต้องพ่ายแพ้อย่างรวดเร็ว เยอรมันได้ถอนกำลังไปยังทางเหนือผ่านหุบเขาแม่น้ำโรน เพื่อสร้างแนวป้องกันที่มั่นคงที่ดีฌง หน่วยทหารฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถไล่ติดตามเยอรมันทันและบล็อกเส้นทางของพวกเขาบางส่วนที่ montélimar การสู้รบที่ตามมาได้นำไปสู่การจนมุม พร้อมกับทั้งสองฝ่ายไม่สามารถบรรลุการบุกทะลวงได้อย่างเด็ดขาด จนกระทั่งในที่สุดเยอรมันสามารถบรรลุในการถอนกำลังและล่าถอยออกจากเมือง ในขณะที่เยอรมันกำลังล่าถอย ฝรั่งเศสได้เข้ายึดท่าเรือที่สำคัญคือ มาร์แซย์ และตูลง ที่ได้ถูกกำหนดไว้ในปฏิบัติการไม่นานหลักจากนั้น

เยอรมันไม่สามารถครองดีฌงได้และได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังออกจากฝรั่งเศสทางตอนใต้ กองทัพกลุ่มจีได้ล่าถอยไปยังทางเหนือ ซึ่งถูกไล่ติดตามโดยกองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตร การสู้รบอย่างไปๆมาๆจนไปถึงภูเขาโวฌที่กองทัพกลุ่มจีสามารถสร้างแนวป้องกันที่มั่นคงได้ในที่สุด กองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรมีความจำเป็นที่ต้องปรับปรุงโครงสร้างและเผชิญหน้ากับการต้านทานที่แข็งแกร่งของเยอรมัน การรุกได้หยุดลง เมื่อวันที่ 14 กันยายน ปฏิบัติการดรากูนนับว่าเป็นความประสบความสำเร็จโดยฝ่ายสัมพันธมิตร ได้ช่วยให้พวกเขาทำการปลดปล่อยส่วนใหญ่ของฝรั่งเศสทางตอนใต้ในเวลาเพียงสี่สัปดาห์ ในขณะที่ก่อให้เกิดความสูญเสียอย่างหนักต่อกองกำลังเยอรมัน แม้ว่าหลายนายของหน่วยทหารเยอรมันที่ดีที่สุดสามารถหลบหนีไปได้ การเข้ายึดครองท่าเรือฝรั่งเศสได้ถูกใส่ไปในปฏิบัติการ ได้ช่วยให้แก่ฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อแก้ไขปัญหาการสนับสนุนบางส่วน

อ้างอิง

Tags:

การยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดีปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยอรรถกร ศิริลัทธยากรแจ๊ส ชวนชื่นกองทัพภาคที่ 1จังหวัดสุรินทร์เอาแล้วไง ยัยแฟนเก่าดันเป็นลูกสาวแม่ใหม่อินเทอร์เน็ตสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารีฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย4 KINGS 2จุดทิศหลักข้าราชการไทยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1กรณิศ เล้าสุบินประเสริฐสมณะโพธิรักษ์สมณศักดิ์มูฮัมหมัด อุสมานมูซาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาโรงเรียนเตรียมทหารรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดพรีเมียร์ลีกไทยไทใหญ่โทกูงาวะ อิเอยาซุข้าราชการพลเรือนสามัญชาเคอลีน มึ้นช์ชาลิดา วิจิตรวงศ์ทองสหภาพโซเวียตสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีธนาคารกสิกรไทยฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยอินสตาแกรมกองทัพ พีคหม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์รายชื่อค่ายทหารในสังกัดกองทัพบกไทยณัฐวิญญ์ วัฒนกิติพัฒน์รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ฐสิษฐ์ สินคณาวิวัฒน์สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)ภาษาไทยวชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์มหาวิทยาลัยศิลปากรฟุตซอลโลกสมศักดิ์ เทพสุทินพายุสุริยะกัญญาวีร์ สองเมืองรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยปรมาจารย์ลัทธิมาร (ละครโทรทัศน์)การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566พระไตรปิฎกเว็บไซต์เมอร์ซีย์ไซด์ดาร์บีเผ่า ศรียานนท์อังศุมาลิน สิรภัทรศักดิ์เมธาไค ฮาเวิทซ์ซินดี้ บิชอพรายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามประชากรสถานีกลางบางซื่อประเทศออสเตรเลียบิลลี ไอลิชมหาวิทยาลัยขอนแก่นไทโอยูเรียนาฬิกาหกชั่วโมงศาสนาพุทธพัชรวาท วงษ์สุวรรณคริสเตียโน โรนัลโดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จักรพงษ์ แสงมณีไอริณ ศรีแกล้วบรรดาศักดิ์ไทยจังหวัดสระบุรีรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานครบยอน อู-ซ็อกตระกูลเจียรวนนท์ธนาคารกรุงไทยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารยูเอสเอส ทีโอดอร์ โรเซอเวลต์ (CVN-71)🡆 More