การปฏิวัติเดือนตุลาคม

การปฏิวัติเดือนตุลาคม หรือชื่ออย่างเป็นทางการในเอกสารสมัยโซเวียตว่า การปฏิวัติสังคมนิยมแห่งเดือนตุลาคมอันยิ่งใหญ่ และเรียกโดยทั่วไปว่า ตุลาคมแดง, การลุกฮือเดือนตุลาคม หรือ การปฏิวัติบอลเชวิค เป็นการยึดอำนาจรัฐ ซึ่งมีความสำคัญส่วนหนึ่งของการปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ.

1917">การปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917 ลักษณะเหตุการณ์เป็นการก่อการกบฏด้วยอาวุธในกรุงเปโตรกราดเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1917 (ปฏิทินจูเลียนหรือปฏิทินแบบเก่า ซึ่งตรงกับวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917 ในปฏิทินเกรโกเรียนหรือปฏิทินแบบใหม่) เมื่อเรือลาดตระเวนอะวโรระยิงปืนใหญ่เพื่อบอกสัญญาณให้พวกบอลเชวิกยึดสถานที่สำคัญในเปโตรกราด

การปฏิวัติเดือนตุลาคม
ส่วนหนึ่งของ การปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917, การปฏิวัติ ค.ศ. 1917–1923 และ สงครามกลางเมืองรัสเซีย
การปฏิวัติเดือนตุลาคม
พระราชวังฤดูหนาวแห่งเปโตรกราด
1 วันภายหลังการจลาจล ในวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917
วันที่7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917 [ตามปฎิทินเก่า: 25 ตุลาคม]
สถานที่
ผล
คู่สงคราม
การปฏิวัติเดือนตุลาคม คณะกรรมการบริหารรัสเซียกลาง
การปฏิวัติเดือนตุลาคม กองทัพแดง
การปฏิวัติเดือนตุลาคม สภาโซเวียตเปโตรกราด
การปฏิวัติเดือนตุลาคม สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (ตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน)
การปฏิวัติเดือนตุลาคม สาธารณรัฐรัสเซีย (ถึง 7 พฤศจิกายน)
การปฏิวัติเดือนตุลาคม รัฐบาลชั่วคราวรัสเซีย (ถึง 8 พฤศจิกายน)
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
การปฏิวัติเดือนตุลาคม วลาดีมีร์ เลนิน
การปฏิวัติเดือนตุลาคม เลออน ทรอตสกี
การปฏิวัติเดือนตุลาคม ปาเวล ไดเบโก้
การปฏิวัติเดือนตุลาคม โจเซฟ สตาลิน
รัสเซีย อะเลคซันดร์ เคเรนสกี
กำลัง
กะลาสี 10,000 คน, ทหารกองทัพแดง 20,000 – 30,000 คน ทหารอาสา 500 – 1,000 คน, กองพันทหารหญิง 1,000 คน
ความสูญเสีย
ทหารได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย ไม่มีใครได้รับบาดเจ็บ

เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดหลังจากการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน การปฏิวัติดังกล่าวในกรุงเปโตรกราดโค่นรัฐบาลชั่วคราวรัสเซียและให้อำนาจแก่ชาวโซเวียตท้องถิ่นซึ่งมีบอลเชวิกครอบงำ หลังจากการปฏิวัติได้มีการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียทันที นับเป็นประเทศแรกที่ประกาศตนว่าเป็นรัฐสังคมนิยม เนื่องจากการปฏิวัติดังกล่าวมิได้รับการยอมรับนอกกรุงเปโตรกราดจึงเกิดสงครามกลางเมืองรัสเซีย (ค.ศ. 1917 – 1922) ตามมา และมีการสถาปนาสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1922

การปฏิวัติดังกล่าวมีบอลเชวิกเป็นผู้นำ ซึ่งใช้อิทธิพลในสภาโซเวียตเปโตรกราดเพื่อจัดระเบียบกองทัพ กำลังองครักษ์แดงบอลเชวิก ภายใต้คณะกรรมาธิการปฏิวัติทหาร เริ่มยึดที่ทำการรัฐบาลในวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1917 (แบบเก่า) วันรุ่งขึ้น พระราชวังฤดูหนาว (ที่ทำการรัฐบาลชั่วคราวซึ่งตั้งอยู่ในกรุงเปโตรกราด) จึงถูกยึด

หมายเหตุ

แหล่งข้อมูลอื่น

Tags:

การปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917ปฏิทินจูเลียนปฏิทินเกรโกเรียนเปโตรกราดเรือลาดตระเวนรัสเซียอะวโรระ

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

ณรัชต์ เศวตนันทน์แมวธนาคารแห่งประเทศไทยกรภัทร์ เกิดพันธุ์แบตเตอรี่เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยมาสเตอร์เชฟไทยแลนด์สาปซ่อนรักทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีสถิตย์พงษ์ สุขวิมลคงกะพัน แสงสุริยะนิชคุณ ขจรบริรักษ์กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2018–19นิวรณ์หมาล่าชวน หลีกภัยเชฟกระทะเหล็ก ประเทศไทยรายชื่อเครื่องดนตรีเมแทบอลิซึมรายชื่อสัตว์ตราประจำพระองค์ในประเทศไทยศุภณัฏฐ์ เหมือนตาหมากรุกไทยจ้าว ลู่ซือฟุตซอลลุค อิชิกาวะ พลาวเดนบัลลังก์ลูกทุ่งประเทศญี่ปุ่นงูสามเหลี่ยมไตรลักษณ์จังหวัดบึงกาฬศุภพงษ์ อุดมแก้วกาญจนาศาสนาฮินดูศุภนันท์ บุรีรัตน์จังหวัดฉะเชิงเทราภาคใต้ (ประเทศไทย)ประเทศอียิปต์สมาคมบาสเกตบอลแห่งชาติต่อศักดิ์ สุขวิมลกระทรวงในประเทศไทยวชิรวิชญ์ วัฒนภักดีไพศาลแฮร์รี่ พอตเตอร์สงครามเวียดนามช้อปปี้Face Off แฝดคนละฝาวัชรเรศร วิวัชรวงศ์ประเทศอิตาลีทองใส ทับถนนสำนักพระราชวังสหภาพโซเวียตหลวงปู่ดู่ พฺรหฺมปญฺโญค็อบบี ไมนูรายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทยพุฒิพงศ์ อัสสรัตนกุลลภัสลัล จิรเวชสุนทรกุลสำนักงานอัยการสูงสุด (ประเทศไทย)กวนอิมมัธยมศึกษาเศรษฐศาสตร์โรงเรียนชลกันยานุกูลโรงเรียนชลประทานวิทยาเครยอนชินจังประเทศนิวซีแลนด์เจริญศักดิ์ วงษ์กรณ์พระพุทธเจ้าขอบตาแพะอีสเตอร์นาฬิกาหกชั่วโมงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ทัศน์พล วิวิธวรรธน์เห็ดขี้ควายวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดระยองภาวะโลกร้อนสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา🡆 More