รถถังหลัก

รถถังหลัก (อังกฤษ: Main Battle Tank: MBT) คือ รถถังที่เป็นกำลังสำคัญในการรบ องค์ประกอบที่สำคัญคือ อำนาจการยิง(ความแม่นยำ อำนาจการทำลาย ความรวดเร็วในการใช้อาวุธ) ความคล่องตัว และการป้องกันตนเอง(เกราะ) โดยรถถังหลักจะต้องเป็นรถถังที่มีน้ำหนักตั้งแต่ 37-65 ตันขึ้นไป และสามารถติดปืนใหญ่ตั้งแต่ขนาด 90-125 มม.

รถถังหลัก
รถถังเลพเพิร์ด 2เอ5ของกองทัพบกเยอรมัน

ประวัติศาสตร์

สงครามเย็น

สงครามอ่าวเปอร์เซีย

สงครามอสมมาตร

รายชื่อรถถังหลักแบ่งตามยุค

ยุคที่ 1

รถถังหลักในยุคแรกจะประกอบไปด้วยรถถังกลางที่ออกแบบและผลิตโดยตรงหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง โดยได้รับการนิยามใหม่ต่อมาเป็นรถถังหลัก

ชื่อรถถัง ปีที่เริ่มประจำการ ผู้ใช้งานเดิม หมายเหตุ
เซ็นจูเรียน 1945 รถถังหลัก  สหราชอาณาจักร เป็นรถถังลาดตระเวนที่มีประสิทธิภาพสูงจากสงครามโลกครั้งที่ 2
ที-54 1947 รถถังหลัก  สหภาพโซเวียต
เอ็ม48 แพตตัน 1953 รถถังหลัก  สหรัฐ
ที-55 1958 รถถังหลัก  สหภาพโซเวียต ปรับปรุงจาก รถถัง T-54
ไทป์ 59 1959 รถถังหลัก  จีน ผลิตภายใต้สิทธิบัตรของรถถัง T-54
ไทป์ 61 1961 รถถังหลัก  ญี่ปุ่น

ยุคที่ 2

รถถังหลักในยุคที่สองนั้นได้เพิ่มความสามารถในการต่อสู้ในเวลาคืน

ชื่อรถถัง ปีที่เริ่มประจำการ ผู้ใช้งานเดิม หมายเหตุ
ที-62 1961 รถถังหลัก  สหภาพโซเวียต มีพื้นฐานมาจากรถถัง T-55 เป็นรถถังแบบแรกของโลกที่ใช้ปืนใหญ่รถถังแบบลำกล้องเรียบเป็นอาวุธหลัก
เอ็ม60 แพตตัน 1961 รถถังหลัก  สหรัฐ
เลพเพิร์ด 1 1965 รถถังหลัก  เยอรมนีตะวันตก
แพนเซอร์ 61 1965 รถถังหลัก  สวิตเซอร์แลนด์
ที-64 1966 รถถังหลัก  สหภาพโซเวียต รถถังแบบแรกของโลกที่ใช้เกราะแบบคอมโพสิต
เอเอ็มเอ็กซ์-30 1966 รถถังหลัก  ฝรั่งเศส
ชีฟเทน 1966 รถถังหลัก  สหราชอาณาจักร ติดอาวุธด้วยปืนใหญ่ขนาด 120 มม. แบบ Royal Ordnance L11A5
วิคเกอร์ เอ็มบีที 1967 รถถังหลัก  สหราชอาณาจักร รถถังที่ร่วมพัฒนาระหว่างอินเดียและสหราชอาณาจักร ในชื่อVijayanta
Stridsvagn 103 1968 รถถังหลัก  สวีเดน รถถังหลักแบบไร้ป้อมปืนแบบเดียวในโลก ประจำการโดยสวีเดน
ที-72[ต้องการอ้างอิง] 1973 รถถังหลัก  สหภาพโซเวียต เป็นรถถังที่ได้รับการพัฒนาอยู่ตลอด จึงถูกจัดอยู่ในรถถังยุคที่ 2.5 ในบางตำรา
โอลิแฟนท์[ต้องการอ้างอิง] 1974 รถถังหลัก  แอฟริกาใต้ ปรับปรุงต่อยอดมาจากรถถังเซ็นจูเรี่ยน
ไทป์ 74[ต้องการอ้างอิง] 1975 รถถังหลัก  ญี่ปุ่น
เมอร์คาวา I[ต้องการอ้างอิง] 1978 รถถังหลัก  อิสราเอล
โอเอฟ-40 1981 รถถังหลัก  อิตาลี
Tanque Argentino Mediano[ต้องการอ้างอิง] 1983 รถถังหลัก  อาร์เจนตินา
ไทป์ 69/79 1983 รถถังหลัก  จีน มีพื้นฐานมาจากรถถัง Type 59
เอ็ม-84 1984 รถถังหลัก  ยูโกสลาเวีย รถถังที-72 รุ่นต่อยอดของยูโกสลาเวีย
Ch'onma-ho 1980s รถถังหลัก  สหภาพโซเวียต / รถถังหลัก  เกาหลีเหนือ รถถังที่เกาหลีเหนือได้รับสิทธิบัตรการผลิตของ T-62 ต่อมาได้มีออกมาอีกหลายรุ่น
ไทป์ 88 1980s รถถังหลัก  จีน รวมไปถึงรถถัง Type 80 และ Type 85

ยุคที่ 3

รถถังหลักในยุคที่3นั้นสามารถยิงกระสุนจรวดต่อสู้รถถังนำวิถีด้วยแสงเลเซอร์จากลำกล้องปืนใหญ่ได้ ทั้งยังมีระบบควบคุมการยิงแบบดิจิทัล มีกล้องเล็งและตรวจการณ์ทั้งผู้บัญชาการรถ และพลยิงที่ใช้กล้องแบบจับภาพด้วยรังสีความร้อน มีเกราะป้องกันทั้งที่เป็นแบบเชิงรับ สร้างเป็นตัวรถ และป้อมปืน

รถถังหลัก 
รถถังแบบต่างๆ ที่ประจำการในแต่ละประเทศ
  เอเอ็มเอ็กซ์ เลอแคลซ์
ชื่อรถถัง ปีที่เริ่มประจำการ ผู้ใช้งานเดิม หมายเหตุ
ที-80 1976 รถถังหลัก  สหภาพโซเวียต รถถังที่ใช้เครื่องยนต์เทอร์ไบน์แบบแรกของโลก
เลพเพิร์ด 2 1979 รถถังหลัก  เยอรมนีตะวันตก
MBT-80 1979 รถถังหลัก  สหราชอาณาจักร เป็นรถถังต้นแบบ แต่ไม่ได้เข้าประจำการ
เอ็ม1 เอบรามส์ 1980 รถถังหลัก  สหรัฐ
ชาลเลนเจอร์ 1 1983 รถถังหลัก  สหราชอาณาจักร
M-84 1984 รถถังหลัก  ยูโกสลาเวีย
อีอี ที1 โอโซริโอ 1985 รถถังหลัก  บราซิล เป็นรถถังต้นแบบ แต่ไม่ได้เข้าประจำการในกองทัพบกบราซิล
เค1 1987 รถถังหลัก  เกาหลีใต้
เมอร์คาวา III 1989 รถถังหลัก  อิสราเอล
ไทป์ 90 1990 รถถังหลัก  ญี่ปุ่น
Pokpung-ho 1992 เกาหลีเหนือ
เอเอ็มเอ็กซ์ เลอแคลซ์ 1993 รถถังหลัก  ฝรั่งเศส
ซัลฟิการ์ 1993 รถถังหลัก  อิหร่าน รถถังของอิหร่าน ที่ได้รวมความสามารถจากรถถัง T-72 และ M60 Patton. รถถังซุลฟิการ์ 3 คือรุ่นที่รับการพัฒนาสูงสุด
พีที-91[ต้องการอ้างอิง] 1995 รถถังหลัก  โปแลนด์
ซี-1 อาเรียเต้ 1995 รถถังหลัก  อิตาลี
เค1เอ1 1996 รถถังหลัก  เกาหลีใต้
ที-90A 1996 รถถังหลัก  รัสเซีย พัฒนามาจากรถถังที-72
Stridsvagn 122 1997 รถถังหลัก  สวีเดน พัฒนามาจากรถถังเลพเพิร์ด 2
ไทป์ 96 1997 รถถังหลัก  จีน
ชาลเลนเจอร์ 2 1998 รถถังหลัก  สหราชอาณาจักร
ที-84 1999 รถถังหลัก  ยูเครน พัฒนามาจากรถถังที-80
ไทป์ 98/99 2001 รถถังหลัก  จีน
อัล-คาลิด 2001 รถถังหลัก  ปากีสถาน/รถถังหลัก  จีน
Centurion Olifant Mk 2 2003 รถถังหลัก  แอฟริกาใต้ รถถังรุ่นต่อยอดจากรถถัง Olifant Mk 1
T-72M4 CZ 2003 รถถังหลัก  เช็กเกีย รถถัง ที-72 รุ่นอัพเกรดโดยเช็กเกีย
อาจัน 2004 รถถังหลัก  อินเดีย

ความก้าวหน้ายุคที่ 3 และยุคต่อไป

เมื่อรถถังหลักในยุคที่3ไปเปลี่ยนเป็นยุคต่อไป จะทำให้รถถังหลักในยุคที่4 มีระบบขับเคลื่อนที่สามารถเดินหน้าและถอยหลังได้ด้วยความเร็วเท่ากันด้วยระบบ ที่เรียกว่า Continuously Variable Transmission หรือ (CVT) มีระบบโหลดกระสุนอัตโนมัติ มีระบบดูดซับแรงเมื่อทำการยิงที่ดีเยี่ยมทำให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงขณะยิงได้ มีระบบกล้องรอบทิศทางรอบป้อมและรถ 360 องศาโดยไม่มีจุดอับสายตา สามารถใช้โหมดความร้อนและกล้องกลางคืนได้ทุกมุมมองรอบรถถัง และมีระบบโครงข่ายสื่อสารกับศูนย์บัญชาการได้จากในตัวรถถังเอง

Advanced Third Generation and Next Generation

ชื่อรถถัง ปีที่เริ่มประจำการ ผู้ใช้งานเดิม หมายเหตุ
Merkava Mk IVm Windbreaker 2011 รถถังหลัก  อิสราเอล Adv. 3rd with Active Protection (operational from 2011)
Type 99A2 2009 รถถังหลัก  จีน "Enhanced Third Generation Main Battle Tank"
T-90MS 2011 รถถังหลัก  รัสเซีย Adv. 3rd
ไทป์ 10 2012 รถถังหลัก  ญี่ปุ่น 4th Generation
เค2 แบล็คแพนเธอร์ 2014 รถถังหลัก  เกาหลีใต้ Adv. 3rd
Leopard 2A7+ 2014 รถถังหลัก  เยอรมนี Adv. 3rd
VT-4 2014 รถถังหลัก  จีน 3rd Generation Advanced
T-14 Armata 2015 รถถังหลัก  รัสเซีย 4th Generation of RAF MBT derived from "Armata" modular platform

อยู่ระหว่างการพัฒนา

รถถังที่อยู่ระหว่างการพัฒนาเพื่อเข้าประจำการ

  • รถถังหลัก  / รถถังหลัก  อัล-คาลิด-II: มีแผนให้เสร็จในปี 2012
  • รถถังหลัก  ซีเอสยู-152: - อยู่ระหว่างการทดสอบต้นแบบ
  • รถถังหลัก  ไทป์ 99เคเอ็ม[ต้องการอ้างอิง]
  • รถถังหลัก  Main Battle Tank 3000: วางแผนใช้ในปี 2014
  • รถถังหลัก  T-99 Armata: มีแผนให้เสร็จในปี 2015
  • รถถังหลัก  Leopard 2A7+ - เยอรมนี มีแผนอัพเกรด โมดูลล่าจากรถถัง เลพเพิร์ด 2 ที่มีอยู่
  • รถถังหลัก  Altay MBT - รถถังตัวต้นแบบอยู่ในช่วงทดสอบ
  • รถถังหลัก  Leopard 2NG - ASELSAN ตุรกีอัพเกรดรถถัง เลพเพิร์ด 2 ที่มีอยู่ในกองทัพ
  • รถถังหลัก  T-90MS: อัพเกรดโดยผสมผสานระหว่าง T-90M และ T-90S
  • รถถังหลัก  M-84AS: อัพเกรดต่อจากรถถัง M-84 โดย เซอร์เบีย
  • รถถังหลัก  M1A3 Abrams: พัฒนาจาก M1A2
  • รถถังหลัก  M60-2000 Patton:[ต้องการอ้างอิง]
  • รถถังหลัก  M-95 Degman: อยู่ระหว่างการพัฒนา
  • รถถังหลัก  MBT Arjun Mk-II: - รถถังตัวต้นแบบอยู่ในช่วงทดสอบ
  • รถถังหลัก  Type 99A2: กำลังอัพเกรดจาก ไทป์ 99 A1 ถือว่าเป็นรถถังในยุคที่ 3

ดูเพิ่ม

  • รถถังเบา
  • รายชื่อรถถังหลักแบ่งตามประเทศ
  • รายชื่อรถถังหลักแบ่งตามยุค

แหล่งข้อมูลอื่น

อ้างอิง

Tags:

รถถังหลัก ประวัติศาสตร์รถถังหลัก รายชื่อแบ่งตามยุครถถังหลัก อยู่ระหว่างการพัฒนารถถังหลัก ดูเพิ่มรถถังหลัก แหล่งข้อมูลอื่นรถถังหลัก อ้างอิงรถถังหลักภาษาอังกฤษรถถัง

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

โอดะ โนบูนางะก็อดซิลล่า ปะทะ คองอัลกุรอานทิน โชคกมลกิจสารัช อยู่เย็นสหรัฐมหาวิทยาลัยกรุงเทพภรภัทร ศรีขจรเดชาสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)พชร จิราธิวัฒน์จังหวัดสุราษฎร์ธานีสกูบี้-ดูอินเจนูอิตีวชิรวิชญ์ วัฒนภักดีไพศาลประเทศรัสเซียธนาคารแห่งประเทศไทยศรีรัศมิ์ สุวะดีเจนี่ อัลภาชน์ ณ ป้อมเพชรแจ๊ส ชวนชื่นพิจักขณา วงศารัตนศิลป์ยศทหารและตำรวจไทยจิรภพ ภูริเดชเกมพีระมิด (ละครโทรทัศน์เกาหลีใต้)เจมส์ มาร์กรภัทร์ เกิดพันธุ์น้ำอสุจิรหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศเมแทบอลิซึมเดอะพาวเวอร์พัฟฟ์เกิลส์ข้อมูลประเทศออสเตรียหญิงรักร่วมเพศโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าใหม่ เจริญปุระสุภาภัสสร์ ผลเจริญรัตน์แอทลาสทวีปอเมริกาใต้ประเทศจีนไททานิค (ภาพยนตร์)รายชื่อสมาชิกบีเอ็นเคโฟร์ตีเอตมิตร ชัยบัญชาเศรษฐศาสตร์สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2018–19แจร์ดัน ชาชีรีเกาะกูดกระทรวงในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดมุฮัมมัดอุณหภูมิสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานพรรคก้าวไกลสถานีกลางบางซื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือดาวิกา โฮร์เน่ชาติชาย ชุณหะวัณพ.ศ. 2565สงครามเวียดนามวรกมล ชาเตอร์โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงกรรชัย กำเนิดพลอยพรรคประชาธิปัตย์ชาดา ไทยเศรษฐ์โลจิสติกส์ประเทศลาวเข็มอัปสร สิริสุขะการบัญชีรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้จังหวัดของประเทศไทยสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดรายชื่อสกุลญี่ปุ่นที่ใช้มากที่สุดสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโรข่าวช่อง 7HDสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)วิชัย สังข์ประไพภูภูมิ พงศ์ภาณุภาค🡆 More