อัคซีโยน เท4

อัคซีโยน เท4 (เยอรมัน: Aktion T4) เป็นชื่อในช่วงหลังสงครามที่ตั้งให้แก่การสังหารหมู่ผ่านการการุณยฆาตโดยบังคับของนาซีเยอรมนี ชื่อ เทเฟียร์ (T4) เป็นตัวย่อของ Tiergartenstraße 4 อันเป็นชื่อถนนที่ตั้งของหน่วยงานสังกัดทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ หน่วยงานนี้จัดตั้งขึ้นในฤดูใบไม้ผลิปี ค.ศ.

1940 ในเขตเทียร์กาเทินของกรุงเบอร์ลิน เป็นหน่วยงานที่สรรหาและจ่ายค่าจ้างแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ เท4 แพทย์เยอรมันบางส่วนที่ได้รับอำนาจในการวินิจฉัยผู้ป่วยว่าพวกเขา "ป่วยเรื้อรังหมดทางรักษา หลังได้รับการตรวจที่จำเป็นอย่างถึงที่สุดแล้ว" และได้รับอำนาจให้จัดการกับพวกเขาด้วย "ความตายอันการุณ" (Gnadentod) โครงการนี้มุ่งเป้าไปที่เด็กและผู้ใหญ่ที่มีความบกพร่องทางร่างกายและทางจิตเรื้อรัง

อัคซีโยน เท4
อัคซีโยน เท4
คำสั่งของฮิตเลอร์เกี่ยวกับ อัคซีโยน เท4
หรือเป็นที่รู้จักมาตรการ T4
สถานที่ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง
วันที่กันยายน ค.ศ. 1939 – สิงหาคม ค.ศ. 1941
รูปแบบการบังคับการุณยฆาต
ผู้ทำชุทซ์ชทัฟเฟิล-เอสเอส
ผู้ร่วมโรงพยาบาลจิตเวช
เหยือ70,273

ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1939 อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้ลงนามในกฤษฎีการุณยฆาต ย้อนหลังให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 ซึ่งอนุญาตให้ไรชส์ไลเทอร์ ฟิลิป บูเลอร์ ผู้นำไรช์ฝ่ายพรรคนาซี กับ ดร.คาร์ล บรันท์ (Karl Brandt) แพทย์ส่วนตัวของฮิตเลอร์ในการดำเนินโครงการการุณยฆาตโดยบังคับ

กรุงเบอร์ลิน, 1 กันยายน 1939
    ไรชส์ไลเทอร์ บูเลอร์ และ ดร.นพ.บรันท์
    ขอมอบหมายให้รับผิดชอบแผนขยายขอบเขตอำนาจของแพทย์ที่จะได้เข้าระเบียนชื่อไว้ ในกรณีว่าคนป่วยใด ๆ ก็ตาม หลังเข้ารับการวินิจฉัยที่จำเป็นอย่างถึงที่สุดแล้ว หลักปุถุชนเห็นว่าเป็นคนที่หมดทางรักษา สามารถรับการการุณยฆาตได้
(ลงชื่อ) อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

ระหว่างกันยายน ค.ศ. 1939 จนถึงสิงหาคม ค.ศ. 1941 มีผู้คนกว่า 70,273 ชีวิตถูกฆ่าจากกฎหมายฉบับนี้ การสังหารเกิดขึ้นที่ศูนย์การสังหารหมู่ต่าง ๆ ในโรงพยาบาลจิตเวชในเยอรมนีและออสเตรีย ตลอดจนในเขตยึดครองโปแลนด์ ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อเป็นผู้ที่อยู่ในสถานบำบัดทางจิตเวช

มีการอ้างเหตุผลมากมายมาสนับสนุนกฎหมายฉบับนี้ ทั้งเหตุผลด้านสุพันธุศาสตร์ เพื่อลดความทรมานจากโรคภัย เพื่อสุขอนามัยของสังคม เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการของประเทศ

หมายเหตุ

อ้างอิง

บรรณานุกรม

Tags:

กรุงเบอร์ลินการุณยฆาตทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์นาซีเยอรมนีภาษาเยอรมัน

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

พระคเณศลีกเอิงคิม จี-ว็อน (นักแสดง)จังหวัดชัยภูมิความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยยศทหารและตำรวจไทยจังหวัดของประเทศเกาหลีใต้เจ้าชายอับดุล มาตีนแห่งบรูไนเลขประจำตัวประชาชนไทยกรุงเทพมหานครเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกสโมสรฟุตบอลอิปสวิชทาวน์กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)ปีเตอร์ เดนแมนพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์กฤษฏ์ อำนวยเดชกรสุภาพบุรุษชาวดินฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024ธนาคารกรุงไทยสกาวใจ พูนสวัสดิ์สมองณฐพร เตมีรักษ์เอกซ์เจแปนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทยมณฑลของประเทศจีนฟุตซอลโลกรายชื่อสมาชิกบีเอ็นเคโฟร์ตีเอตสโมสรฟุตบอลเซบิยาพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลกรภัทร์ เกิดพันธุ์ธีรดนย์ ศุภพันธุ์ภิญโญกองทัพบกไทยสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกหมายเลขโทรศัพท์ในประเทศไทยรายพระนามและชื่อภรรยาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)ชาวมอญเสริมศักดิ์ พงษ์พานิชวันแรงงานรัฐของสหรัฐบาร์เซโลนาพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาคเซเว่น อีเลฟเว่นกูเกิลรินลณี ศรีเพ็ญทอร์นาโดสมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชเทศน์ เฮนรี ไมรอนพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตสุทัตตา อุดมศิลป์เรวัช กลิ่นเกษรเยือร์เกิน คล็อพสโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลาสโมสรฟุตบอลทรูแบงค็อก ยูไนเต็ดยอดนักสืบจิ๋วโคนันฉบับภาพยนตร์รายชื่อตอนในนารูโตะ ตำนานวายุสลาตันสนุกเกอร์ชานน สันตินธรกุลพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดาจังหวัดศรีสะเกษสฤษดิ์ ธนะรัชต์จำนวนเฉพาะพรีเมียร์ลีกทวีปเอเชียมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงงูเขียวพระอินทร์สโมสรฟุตบอลเพรสตันนอร์ทเอนด์อนาคามีจังหวัดสงขลาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถลิซ่า (แร็ปเปอร์)แบตเตอรี่ณัฏฐณิชา ดังวัธนาวณิชย์🡆 More