ประเทศไทย หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ

หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (อังกฤษ: Service Delivery Unit: SDU) เป็นรูปแบบหน่วยงานที่สำนักงาน ก.พ.ร.

2545 และแผนยุทธศาสตร์พัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546-2550) เกี่ยวกับการจัดโครงสร้างรูปแบบอื่นที่มิใช่ส่วนราชการ

หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ได้กำหนดขึ้นโดยระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารงานของหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ พ.ศ. 2548

แนวคิดและหลักการ

หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ มีแนวคิดและหลักการ คือ

  • มีสถานะเป็นหน่วยงานให้บริการภายในของระบบราชการ โดยมีลักษณะกึ่งอิสระ แต่ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคลยังคงถือเป็นส่วนหนึ่งของกระทรวงหรือกรม และอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของปลัดกระทรวงหรืออธิบดี มีเป้าหมายให้บริการหน่วยงานแม่เป็นอันดับแรก และหากมีกำลังการผลิตส่วนเกินจะให้บริการหน่วยงานอื่นได้ ในการส่งมอบผลผลิตต้องมีระบบการประกันคุณภาพ
  • มีลักษณะของการจัดโครงสร้างการบริหารในแบบการกระจายอำนาจ แยกส่วนออกมาเป็นหน่วยงานเอกเทศ หรือเรียกกันว่า ศูนย์รับผิดชอบ (responsibility center) ที่สามารถดูแลรับผิดชอบการดำเนินงานการบริหารทรัพยากรและการส่งมอบผลผลิตของตนเองในลักษณะเดียวกันกับศูนย์กำไร (profit center) ที่นิยมจัดตั้งขึ้นในบริษัทธุรกิจโดยทั่วไป
  • มีการถ่ายโอนและโยกย้ายข้าราชการและลูกจ้างบางส่วนออกไป ลดภาระต้นทุนค่าใช้จ่ายรวมถึงการปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพของการดำเนินงานให้ดีขึ้น
  • องค์ประกอบของลักษณะงานที่อาจกำหนดเป็นหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ
    • มีลักษณะงานเป็นการให้บริการ
    • สามารถดำเนินการได้อย่างชัดเจนภายใต้กรอบนโยบายที่กำหนดขึ้น
    • มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงและสร้างภาระรับผิดชอบต่อหน่วยงานแม่ต้นสังกัดได้
    • สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม
    • มีขนาดที่เหมาะสมเพียงพอต่อการแยกส่วนออกมาจากหน่วยงานแม่ต้นสังกัด
    • ไม่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
  • การบริหารงาน อาจดำเนินการในรูปของคณะกรรมการอำนวยการหรือคณะกรรมการบริหารที่ได้รับการแต่งตั้งจากหน่วยงานแม่ต้นสังกัด โดยให้มีผู้อำนวยการซึ่งผ่านการคัดเลือกตามเงื่อนไขที่กำหนด ทำหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารงานให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของการจัดตั้งหน่วยงานดังกล่าว ทั้งนี้ หน่วยบริการรูปแบบพิเศษจะต้องมีอิสระความคล่องตัวในการจัดโครงสร้างองค์กร อัตรากำลังและค่าตอบแทนของตนได้เองตามความเหมาะสม โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการอำนวยการหรือคณะกรรมการบริหาร หรือผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานแม่สุดแล้วแต่กรณี

รายชื่อหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ

ในปัจจุบันมีหน่วยบริการรูปแบบพิเศษในประเทศไทย จำนวน 2 หน่วยงาน คือ

ในอดีต

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

Tags:

ประเทศไทย หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ แนวคิดและหลักการประเทศไทย หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ รายชื่อหน่วยบริการรูปแบบพิเศษประเทศไทย หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ อ้างอิงประเทศไทย หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ดูเพิ่มประเทศไทย หน่วยบริการรูปแบบพิเศษภาษาอังกฤษสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

อินทิรา โมราเลสสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสุภาพร มะลิซ้อนศุภนันท์ บุรีรัตน์ธัญญภัสร์ ภัทรธีรชัยเจริญชัยวัฒน์ ชื่นโกสุมพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเรวัช กลิ่นเกษรการสมรสเพศเดียวกันขุนพันธ์โรงเรียนสตรีวิทยาแบตเตอรี่ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีแฮร์รี่ พอตเตอร์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์สีประจำวันในประเทศไทยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดบิลลี ไอลิชสุภโชค สารชาติสมเด็จพระนารายณ์มหาราชยศทหารและตำรวจไทยเพลงเอก (ฤดูกาลที่ 3)ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์จังหวัดร้อยเอ็ดแอริน ยุกตะทัตวรกมล ชาเตอร์มาสเตอร์เชฟไทยแลนด์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มหาวิทยาลัยกรุงเทพจังหวัดระยองรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยฮ่องกงสุธิตา ชนะชัยสุวรรณประเทศมัลดีฟส์สงกรานต์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ฮันเตอร์ x ฮันเตอร์เว็บไซต์รายชื่อประธานาธิบดีสหรัฐสติปัฏฐาน 4หีศาสนาอิสลามสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่นคงกะพัน แสงสุริยะนิภาภรณ์ ฐิติธนการแม่นากพระโขนงเงินตราจีเมลหลิว เต๋อหัวลุค อิชิกาวะ พลาวเดนรายชื่อภาพยนตร์ในจักรวาลภาพยนตร์มาร์เวลขอบตาแพะนินจาคาถาโอ้โฮเฮะเทศน์ เฮนรี ไมรอนการรถไฟแห่งประเทศไทยสายัณห์ ดอกสะเดาบิ๊กแอสชีอะฮ์รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศเลโอนาร์โด ดา วินชีสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2018–19โรงเรียนชลกันยานุกูลยอดนักสืบจิ๋วโคนันฉบับภาพยนตร์สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)สโมสรฟุตบอลเชลซีพิชชาภา พันธุมจินดากูเกิล27 มีนาคมรายชื่อตอนในโปเกมอนกรณิศ เล้าสุบินประเสริฐลือชัย งามสม🡆 More