ประวัติศาสตร์อินเดีย

ประวัติศาสตร์อินเดียเริ่มต้นจากข้อมูลด้านพันธุศาสตร์สมัยใหม่ที่พบว่ามนุษย์ยุคใหม่เชิงกายวิภาคได้เข้ามายังอนุทวีปอินเดียจากทวีปแอฟริกาในราว 73,000 ถึง 55,000 ปีก่อน อย่างไรก็ตาม ซากมนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุดที่เคยพบในอินเดียมีอายุราว 30,000 ปีก่อน การเปลี่ยนแปลงจากการล่าของป่าไปสู่การทำเกษตรและปศุสัตว์ของมนุษย์ในอนุทวีปอินเดียเริ่มต้นในราว 7,000 ปีก่อนคริสตกาล ในพื้นที่ที่ปัจจุบันคือเมห์รครห์พบหลักฐานแสดงการเก็บเกี่ยวข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ตามด้วยการปศุสัตว์ วัว แพะ และแกะ ภายใน 4,500 ปีก่อนคริสต์ดาล การใช้ชีวิตแบบปักหลักเริ่มเป็นที่แพร่หลายขึ้น และค่อย ๆ พัฒนาอย่างก้าวกระโดดเป็นอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ หนึ่งในอารยธรรมยุคแรกของมนุษย์ในยุคโลกเก่า ซึ่งร่วมสมัยกับอียิปต์โบราณ และ เมโสโปเตเมีย อารยธรรมนี้เฟื่องฟูใน 2,500 ปีก่อนคริสตกาลถึง 1900 ปีก่อนคริสตกาล ในพื้นที่ที่ปัจจุบันคือประเทศปากีสถานและตัวนตกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีลักษณะสำคัญของอารยธรรมคือการวางผังเมือง, บ้านเรือนที่สร้างด้วยอิฐอบ และระบบประปาและการระบายน้ำที่ซับซ้อน

ยุคก่อนประวัติศาสตร์ (ถึง 3300 ก่อนคริสตกาล)

ยุคสำริด – การเกิดนครขึ้นครั้งแรก (ราว 3300 – 1800 ปีก่อนคริสตกาล)

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ

==ยุคเหล็ก (1500 – 200 ปีก่อนคริสตกาล)== (1000 ปีก่อนพุทธศักราช - พุทธศักราช 300)

===สมัยพระเวท (ราว 1500 – 600 ปีก่อนคริสตกาล)=== (1000 ปีก่อนพุทธศักราช - 100 ปีก่อนพุทธศักราช)

สมัยพระเวทเป็นยุคสมัยที่ซึ่งพระเวทได้ประพันธ์ขึ้น พระเวทเป็นงานเขียนบันทึกบทขับร้องพิธีสวดของชาวอินโด-อารยัน วัฒนธรรมพระเวทนั้นแพร่หลายอยู่ในแถบตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียในปัจจุบัน ในขณะที่ส่วนอื่น ๆ ของอินเดียยังคงมีวัฒนธรรมเฉพาะถิ่นที่แตกต่างกันไป พระเวท ในปัจจุบันเป็นคัมภีร์ที่สักการะโดยชาวฮินดู และได้รับการถ่ายทอดแบบมุขปาถะด้วยภาษาสันสกฤตแบบพระเวท และเป็นหนึ่งในงานเขียนที่เก่าแก่ที่สุดในอนุทวีปอินเดีย สมัยพระเวทกินเวลาจาก 1500 ถึง 500 ปีก่อนคริสตกาล และมีส่วนอย่างมากต่อการเป็นรากฐานของมุมมองต่าง ๆ ทางวัฒนธรรมของอนุทวีปอินเดีย ในแง่ของวัฒนธรรม ศาสนาของอนุทวีปอินเดียได้เริ่มเปลี่ยนจากความเป็นคัลคอลิธิก สู่ยุคเหล็ก ในยุคนี้

สังคมพระเวท

นักประวัติศาสตร์เชื่อว่าวัฒนธรรมพระเวทมีศูนย์กลางอยู่แถบภูมิภาคปัญจาบและที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบน นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่ายุคนี้เป็นช่วงเวลาที่ระลอกของชาวอินโด-อารยัน เริ่มเข้ามาสู่อนุทวีปอินเดียผ่านการอพยพของชาวอินโด-อารยัน จากทางตะวันตกเฉียงเหนือ มีการสร้างความศักดิ์สิทธิ์ให้กับต้นปีปัลและวัวภายในยุคของอาถรรพเวท ในขณะที่แนวคิดของปรัชญาอินเดียเริ่มพัฒนาในเวลาต่อ ๆ มา เช่น แนวคิดเรื่องธรรมพ ซึ่งสามารถค้นคว้าย้อนหลังไปถึงยุคพระเวทได้

ชนปัท

ศาสนาพุทธและไชนะ

มหาชนปัท

จักรวรรดิมคธยุคแรก

จักรวรรดินันทะและการเข้ามาของพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์

จักรวรรดิเมารยะ

สมัยสังฆัม

ยุคคลาสสิกและยุคกลางตอนต้น (200 ปีก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 1200)

ยุคกลางตอนปลาย (ค.ศ. 1200–1526)

รัฐสุลต่านเดลี

จักรวรรดิวิชัยนคร

อำนาจท้องถิ่น

ขบวนการภักติและศาสนาซิกข์

ยุคใหม่ตอนต้น (ค.ศ. 1526–1858)

จักรวรรดิโมกุล

ชาวมราฐาและชาวซิกข์

จักรวรรดิมราฐา

จักรวรรดิซิกข์

อาณาจักรอื่น ๆ

อาณาจักรไมโซร์ทางใต้ของอินเดียขยายอาณาเขตได้กว้างขวางที่สุดในสมัยของไฮเดอร์ อะลี และบุตร ตีปูสุลต่าน ในครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ในสมัยนี้ อาณาจักรไมโซร์ได้มีการต่อสู้กับทั้งกองทัพบริเตนและชาวมราฐาหลายครั้ง โดยสงครามระหว่างมราฐาและไมโซร์สิ้นสุดลงในเดือนเมษายน 1787 ภายหลังการลงนามใน สนธิสัญญาคเชนทราคัท (Gajendragad) ที่ซึ่งตีปูสุลต่านต้องจ่ายธรรมเนียมชดเชยให้กับมราฐา ส่วนสงครามระหว่างอังกฤษและไมโซร์ได้เกิดขึ้นไปพร้อม ๆ กัน กระทั่งการเสียชีวิตของตีปูในสงครามครั้งที่สี่ (1798–1799) และบริเตนได้ชนะในการยึดเมืองเสริงคปัฏนัม เมื่อปี 1799

เมืองไฮเดอราบาดก่อตั้งขึ้นโดยจักรวรรดิกุตับชาฮีแห่งโกลคอนดาในปี 1591 ต่อมา นายพลโมกุล อะซิฟ จาห์ (Asif Jah) ได้ยึดไฮเดอราบาดและสถาปนาตนขึ้นเป็นนิซัมอห่งไฮเดอราบาดในปี 1724

การเข้ามาของยุโรป

บริติชราช (ค.ศ. 1858–1947)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

หมายเหตุ

รายการอ้างอิง

บรรณานุกรม

เอกสารตีพิมพ์

เว็บไซต์

แหล่งข้อมูลอื่น

ทั่วไป

  • Basham, A.L., ed. The Illustrated Cultural History of India (Oxford University Press, 2007)
  • Buckland, C.E. Dictionary of Indian Biography (1906) 495pp full text
  • Chakrabarti D.K. 2009. India, an archaeological history : palaeolithic beginnings to early historic foundations
  • Dharma Kumar and Meghnad Desai, eds. The Cambridge Economic History of India: Volume 2, c. 1751 – c. 1970 (2nd ed. 2010), 1114pp of scholarly articles
  • Fisher, Michael. An Environmental History of India: From Earliest Times to the Twenty-First Century (Cambridge UP, 2018)
  • Guha, Ramachandra. India After Gandhi: The History of the World's Largest Democracy (2007), 890pp; since 1947
  • James, Lawrence. Raj: The Making and Unmaking of British India (2000) online
  • Khan, Yasmin. The Raj At War: A People's History Of India's Second World War (2015); also published as India At War: The Subcontinent and the Second World War [1].
  • Khan, Yasmin. The Great Partition: The Making of India and Pakistan (2n d ed. Yale UP 2017) excerpt
  • Mcleod, John. The History of India (2002) excerpt and text search
  • Majumdar, R.C. : An Advanced History of India. London, 1960. ISBN 0-333-90298-X
  • Majumdar, R.C. (ed.) : The History and Culture of the Indian People, Bombay, 1977 (in eleven volumes).
  • Mansingh, Surjit The A to Z of India (2010), a concise historical encyclopedia
  • Markovits, Claude, ed. A History of Modern India, 1480–1950 (2002) by a team of French scholars
  • Metcalf, Barbara D. and Thomas R. Metcalf. A Concise History of Modern India (2006)
  • Peers, Douglas M. India under Colonial Rule: 1700–1885 (2006), 192pp
  • Richards, John F. The Mughal Empire (The New Cambridge History of India) (1996)
  • Riddick, John F. The History of British India: A Chronology (2006) excerpt
  • Riddick, John F. Who Was Who in British India (1998); 5000 entries excerpt
  • Rothermund, Dietmar. An Economic History of India: From Pre-Colonial Times to 1991 (1993)
  • Sharma, R.S., India's Ancient Past, (Oxford University Press, 2005)
  • Sarkar, Sumit. Modern India, 1885–1947 (2002)
  • Senior, R.C. (2006). Indo-Scythian coins and history. Volume IV. Classical Numismatic Group, Inc. ISBN 978-0-9709268-6-9.
  • Singhal, D.P. A History of the Indian People (1983)
  • Smith, Vincent. The Oxford History of India (3rd ed. 1958), old-fashioned
  • Spear, Percival. A History of India. Volume 2. Penguin Books. (1990) [First published 1965]
  • Stein, Burton. A History of India (1998)
  • Thapar, Romila. Early India: From the Origins to AD 1300 (2004) excerpt and text search
  • Thompson, Edward, and G.T. Garratt. Rise and Fulfilment of British Rule in India (1934) 690 pages; scholarly survey, 1599–1933 excerpt and text search
  • Tomlinson, B.R. The Economy of Modern India, 1860–1970 (The New Cambridge History of India) (1996)
  • Tomlinson, B.R. The political economy of the Raj, 1914-1947 (1979) online
  • Wolpert, Stanley. A New History of India (8th ed. 2008) online 7th edition

Historiography

  • Bannerjee, Gauranganath (1921). India as known to the ancient world. London: Humphrey Milford, Oxford University Press.
  • Bayly, C.A. (November 1985). "State and Economy in India over Seven Hundred Years". The Economic History Review. 38 (4): 583–596. doi:10.1111/j.1468-0289.1985.tb00391.x. JSTOR 2597191.
  • Bose, Mihir. "India's Missing Historians: Mihir Bose Discusses the Paradox That India, a Land of History, Has a Surprisingly Weak Tradition of Historiography", History Today 57#9 (2007) pp. 34–. online เก็บถาวร 2011-09-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Elliot, Henry Miers; John Dowson (1867–77). The History of India, as told by its own historians. The Muhammadan Period. London: Trübner and Co.
  • Kahn, Yasmin. "Remembering and Forgetting: South Asia and the Second World War' in Martin Gegner and Bart Ziino, eds., The Heritage of War (Routledge, 2011) pp. 177–193.
  • Jain, M. The India They Saw : Foreign Accounts (4 Volumes) Delhi: Ocean Books, 2011.
  • Lal, Vinay, The History of History: Politics and Scholarship in Modern India (2003).
  • Palit, Chittabrata, Indian Historiography (2008).
  • Arvind Sharma, Hinduism and Its Sense of History (Oxford University Press, 2003) ISBN 978-0-19-566531-4
  • E. Sreedharan, A Textbook of Historiography, 500 B.C. to A.D. 2000 (2004)
  • Warder, A.K., An introduction to Indian historiography (1972).

ปฐมภูมิ

  • The Imperial Gazetteer of India (26 vol, 1908–31), highly detailed description of all of India in 1901. online edition

ออนไลน์

Tags:

ประวัติศาสตร์อินเดีย ยุคก่อนประวัติศาสตร์ (ถึง 3300 ก่อนคริสตกาล)ประวัติศาสตร์อินเดีย ยุคสำริด – การเกิดนครขึ้นครั้งแรก (ราว 3300 – 1800 ปีก่อนคริสตกาล)ประวัติศาสตร์อินเดีย ยุคคลาสสิกและยุคกลางตอนต้น (200 ปีก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 1200)ประวัติศาสตร์อินเดีย ยุคกลางตอนปลาย (ค.ศ. 1200–1526)ประวัติศาสตร์อินเดีย ยุคใหม่ตอนต้น (ค.ศ. 1526–1858)ประวัติศาสตร์อินเดีย ดูเพิ่มประวัติศาสตร์อินเดีย อ้างอิงประวัติศาสตร์อินเดีย แหล่งข้อมูลอื่นประวัติศาสตร์อินเดียAnatomically modern humansทวีปแอฟริกาอนุทวีปอินเดียอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุอียิปต์โบราณเมโสโปเตเมีย

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

กรรชัย กำเนิดพลอยคอมพิวเตอร์ณัฐวรรธน์ จิโรชน์ธิกุลรายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยหน้าไพ่ประเทศอิตาลีซอร์ซมิวสิกธนวรรธน์ วรรธนะภูติพระสุริโยทัยสายัณห์ สัญญาจังหวัดกำแพงเพชรสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ญีนา ซาลาสกิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์25 เมษายนเมตาอะพอลโล 13รัฐฉานพัฒน์ชัย ภักดีสู่สุขภาคตะวันออก (ประเทศไทย)เบ็นเท็น (ซีรีส์โทรทัศน์ พ.ศ. 2548)สล็อตแมชชีน (วงดนตรี)ยากูซ่าปานปรีย์ พหิทธานุกรฟุตบอลทีมชาติไทยเจาะมิติพิชิตบัลลังก์รายชื่อตอนในโปเกมอนกองทัพ พีคคันนะ ฮาชิโมโตะกองทัพอากาศไทยประเทศแอฟริกาใต้สุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)หนังสือรุ่นพลอยประเทศไทยกระทรวงในประเทศไทยราชวงศ์ในประวัติศาสตร์จีนพ.ศ. 2567จังหวัดของประเทศเกาหลีใต้บาป 7 ประการและสิ่งสุดท้ายสี่อย่างโดราเอมอนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีพระเทพวิทยาคม (คูณ ปริสุทฺโธ)สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรจังหวัดบึงกาฬสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์เซี่ยงไฮ้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารเอฟเอคัพประเทศบังกลาเทศนามสกุลพระราชทานมิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2024มิลลิ (แร็ปเปอร์)ธีรเดช เมธาวรายุทธหน้าหลักพระเจ้าบุเรงนองอีเอฟแอลแชมเปียนชิปชนิกานต์ ตังกบดีรายชื่อภาพยนตร์ที่ทำเงินสูงสุดในประเทศไทยประเทศโมนาโกรางวัลนาฏราชสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดนิวรณ์จังหวัดเชียงใหม่วัลลภ เจียรวนนท์การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566หีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรงประเทศออสเตรเลียสราวุฒิ พุ่มทองประเทศตุรกีภาคใต้ (ประเทศไทย)ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์จังหวัดนนทบุรี🡆 More