ทรานสไก

ทรานสไก (/trɑːnsˈkeɪ, -ˈkaɪ, trænz-/ หมายถึง พื้นที่นอกเหนือ แม่น้ำเกรตไค), มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐทรานสไก (โคซา : iRiphabliki yeTranskei) เป็นบันตูสถาน (อาณาเขตที่ตั้งขึ้นเพื่อแยกประชากรผิวดำ) ในประเทศแอฟริกาใต้ มีเมืองหลวงชื่อเมือง อึมทาทา ,ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น เอ็มทาทา ในปี 2004

สาธารณรัฐทรานสไก

iRiphabliki yeTranskei
พ.ศ. 2519–พ.ศ. 2537
ธงชาติทรานสไก
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของทรานสไก
ตราแผ่นดิน
คำขวัญiMbumba yaManyama
Xhosa: Unity is Strength
เพลงชาติNkosi Sikelel' iAfrika
Xhosa: God Bless Africa
Location of Transkei in Southern Africa (1976-1994)
Location of Transkei in Southern Africa (1976-1994)
สถานะบันตูสถาน
เมืองหลวงอึมทาทา (ปัจจุบันคือ เอ็มทาทา)
ภาษาทั่วไปภาษาโคซา (ภาษาราชการ)

–ใช้ภษาเซโซโทและภาษาอังกฤษในการตรากฎหมาย

–อนุญาตให้ใช้ภาษาอาฟรีกานส์ในฝ่ายบริหารและตุลาการ¹
ผู้นำ 
• พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2529
Chief Kaiser Daliwonga Matanzima
(ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนในนาม, พรรคการเมืองเดียว)
• พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2537
Bantu Holomisa
(เผด็จการทหาร)
สภานิติบัญญัติรัฐสภา
• Parliament
President plus National Assembly
(Immune to judicial review)²
• National Assembly
Paramount Chiefs
70 District Chiefs
75 elected MPs³
ประวัติศาสตร์ 
• ปกครองตนเอง
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2506
• แยกตัวเป็นรัฐอิสระในนาม
26 ตุลาคม พ.ศ. 2519
• Break of diplomatic ties
พ.ศ. 2521
• รัฐประหาร
พ.ศ. 2530
• รัฐประหารล้มเหลว
พ.ศ. 2533
• ล่มสลาย
27 เมษายน พ.ศ. 2537
พื้นที่
พ.ศ. 252343,798 ตารางกิโลเมตร (16,911 ตารางไมล์)
ประชากร
• พ.ศ. 2523
2323650
สกุลเงินแรนด์แอฟริกาใต้
ก่อนหน้า
ถัดไป
ทรานสไก South Africa
South Africa ทรานสไก
1. Constitution of the Republic of Transkei 1976, Chapter 3, 16/Chapter 5, 41
2. Constitution of the Republic of Transkei, Chapter 5, 24(4): "No court of law shall be competent to inquire into or to pronounce upon the validity of any Act."
3. 28 electoral divisions; number of MPs per division in proportion to number of registered voters per division; at least one MP each

ทรานสไก เป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญอย่างหนึ่งในประวัติศาสตร์ของแอฟริกาใต้ในเรื่องของการแบ่งแยกสีผิวและชนชั้นเพราะทรานสไกเป็นประเทศแรกสุดใน 4 ประเทศ ที่แยกตัวเป็นอิสระจากแอฟริกาใต้ก่อนที่จะกลับมารวมกันอีกครั้งในปี พ.ศ. 2537 และเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดอีสเทิร์นเคปในปัจจุบัน

อ้างอิง

Tags:

บันตูสถานประเทศแอฟริกาใต้สัทอักษรสากล

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

เจริญ สิริวัฒนภักดีภักดีหาญส์ หิมะทองคำวอลเลย์บอลระบบพระพรหมพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาตเมอร์ซีย์ไซด์ดาร์บีสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันคณาวุฒิ ไตรพิพัฒนพงษ์รายการรหัสไปรษณีย์ไทยโฟร์อีฟแอน อรดีจัน ดารา (ภาพยนตร์ทวิภาค)สุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)อินสตาแกรมกูเกิลราชกิจจานุเบกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไฮคิว!! คู่ตบฟ้าประทานรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานครวิดีโอกวนอิมสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ดเข็มอัปสร สิริสุขะวัชรเรศร วิวัชรวงศ์ประวัติศาสตร์ไทยกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)วรรณี เจียรวนนท์ รอสส์สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์วันมูหะมัดนอร์ มะทาหม่ำ จ๊กมกพ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรานส์ฟอร์เมอร์ส (ภาพยนตร์ชุด)ตระกูลเจียรวนนท์หนุมานทักษิณ ชินวัตรชาลี ไตรรัตน์รายชื่อค่ายทหารในสังกัดกองทัพบกไทยเดนิส เจลีลชา คัปปุนเมืองพัทยาจังหวัดน่านชาคริต แย้มนามจังหวัดสมุทรสาครข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานีจำนวนเฉพาะนินจาคาถาโอ้โฮเฮะจังหวัดของประเทศไทยเอกซ์เอกซ์เอกซ์เทนเทสซิยอนปานปรีย์ พหิทธานุกรหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลฟุตซอลโลก 2021จังหวัดมหาสารคามคริสเตียโน โรนัลโดพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชอนาคามีโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยภาษาอังกฤษจังหวัดพิษณุโลกพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกฤษณภูมิ พิบูลสงครามพระพุทธเจ้าไดโนเสาร์สโมสรฟุตบอลบีจี ปทุม ยูไนเต็ดอัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์วิธวัฒน์ สิงห์ลำพองปาณัสม์ กิตติภาณุวงศ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระฟุตซอลโลกมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เรวัช กลิ่นเกษรมณี สิริวรสารภาษาในประเทศไทยปณิธาน บุตรแก้ว🡆 More