จักรวรรดิรุสเคียฟ

50°27′N 30°31′E / 50.450°N 30.517°E / 50.450; 30.517

รุส

Роусь (สลาฟตะวันออกเก่า)
ค.ศ. 879–ค.ศ. 1240
แผนที่จักรวรรดิรุสเคียฟตอนปลาย (หลังการสวรรคตของยาโรสลาฟที่ 1 ใน ค.ศ. 1054)
แผนที่จักรวรรดิรุสเคียฟตอนปลาย (หลังการสวรรคตของยาโรสลาฟที่ 1 ใน ค.ศ. 1054)
เมืองหลวงนอฟโกรอด (879–882),
เคียฟ (882–1240)
ภาษาทั่วไปภาษาสลาฟตะวันออกเก่า, ภาษานอร์สเก่า (ในกลุ่มชาวไวกิง)
ศาสนา
  • ลัทธินอกศาสนาสลาฟ (ศาสนาดั้งเดิมของชาวสลาฟ)
  • ลัทธินอกศาสนาฟื้นฟู (ทางการจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10)
  • คริสต์ออร์ทอดอกซ์ (ทางการหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10)
  • ลัทธินอกศาสนานอร์ส (ท้องถิ่น)
  • ลัทธินอกศาสนาฟินน์ (ศาสนาพื้นเมืองของชาวฟินนิก)
เดมะนิมรุส
การปกครองราชาธิปไตย
แกรนด์พรินซ์แห่งเคียฟ 
• ค.ศ. 879–912 (องค์แรก)
โอเลกผู้ทำนาย
• ค.ศ. 1236–1240 (องค์สุดท้าย)
มีฮาอิลแห่งเชอร์นิกอฟ
สภานิติบัญญัติVeche, สภาเจ้าชาย
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
ค.ศ. 879
• การพิชิตรัฐข่านคาซาร์
ค.ศ. 965–969
• พิธีบัพติสมาแก่ชนรุส
ป. ค.ศ. 988
• รุสสกายาปราฟดา
ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 11
• การรุกรานรุสของมองโกล
ค.ศ. 1240
พื้นที่
10001,330,000 ตารางกิโลเมตร (510,000 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1000
5,400,000
สกุลเงินกริฟนา
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิรุสเคียฟ รัฐข่านรุส
จักรวรรดิรุสเคียฟ สลาฟนอฟโกรอด
จักรวรรดิรุสเคียฟ Krivichs
จักรวรรดิรุสเคียฟ Chud
จักรวรรดิรุสเคียฟ ฟินน์วอลกา
จักรวรรดิรุสเคียฟ Dregoviches
จักรวรรดิรุสเคียฟ Radimichs
จักรวรรดิรุสเคียฟ โปแลน (ตะวันออก)
จักรวรรดิรุสเคียฟ Severians
จักรวรรดิรุสเคียฟ Drevlians
จักรวรรดิรุสเคียฟ Vyatichi
จักรวรรดิรุสเคียฟ Volhynians
จักรวรรดิรุสเคียฟ โครเอเชียขาว
จักรวรรดิรุสเคียฟ Tivertsi
จักรวรรดิรุสเคียฟ Ulichs
ราชรัฐเคียฟ จักรวรรดิรุสเคียฟ
สาธารณรัฐโนฟโกรอด จักรวรรดิรุสเคียฟ
ราชรัฐเชอร์นิกอฟ จักรวรรดิรุสเคียฟ
ราชรัฐเปเรสลาฟล์ จักรวรรดิรุสเคียฟ
วลาดีมีร์-ซุซดัล จักรวรรดิรุสเคียฟ
ราชรัฐวอลฮือเนีย จักรวรรดิรุสเคียฟ
ราชรัฐฮาลึช จักรวรรดิรุสเคียฟ
ราชรัฐโปลอตสค์ จักรวรรดิรุสเคียฟ
ราชรัฐสโมเลนสค์ จักรวรรดิรุสเคียฟ
ราชรัฐเรียซัน จักรวรรดิรุสเคียฟ
จักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิรุสเคียฟ

จักรวรรดิรุสเคียฟ (เบลารุส: Кіеўская Русь; รัสเซีย: Ки́евская Русь; ยูเครน: Ки́ївська Русь; จากสลาฟตะวันออกเก่า: Роусь, อักษรโรมัน: Rusĭ หรือ роусьскаѧ землѧ, ถอดเป็นอักษรโรมัน: rusĭskaę zemlę) เป็นจักรวรรดิในยุคกลางที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 879 จนถึง ค.ศ. 1240 ที่ก่อตั้งขึ้นโดยพ่อค้าสแกนดิเนเวีย (วารังเจียน) ที่เรียกว่า "ชนรุส" โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เคียฟ (ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของยูเครน) รัฐรุสถือว่าเป็นต้นตอของชาติพันธุ์สลาฟตะวันออกในปัจจุบันสามชาติพันธุ์ ได้แก่ ชาวเบลารุส, รัสเซีย และยูเครน รัชสมัยของวลาดีมีร์มหาราช (ค.ศ. 980–1015) และพระราชโอรสยาโรสลาฟที่ 1 เดอะไวส์ (ค.ศ. 1019–1054) ถือกันว่าเป็นยุคทองของเคียฟ สมัยนี้เป็นสมัยที่จักรวรรดิรุสเคียฟยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา และมีการรวบรวมประมวลกฎหมายที่เขียนเป็นภาษาสลาฟตะวันออกที่เรียกว่า "ประมวลกฎหมายรุสสคายา" (Russkaya Pravda)

ผู้นำสมัยแรกของจักรวรรดิรุสเคียฟสันนิษฐานกันว่าสืบเชื้อสายมาจากชนชั้นผู้นำสแกนดิเนเวียที่ปกครองข้าแผ่นดินที่เป็นชนสลาฟ และมีอำนาจต่อมาจนกระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 11

อ้างอิง

ข้อมูลทั่วไป

  • Magocsi, Paul R. (2010). A History of Ukraine: The Land and Its Peoples. Toronto: University of Toronto Press. ISBN 978-1442610217.
  • จักรวรรดิรุสเคียฟ  บทความนี้รวมเอางานสาธารณสมบัติจากประเทศศึกษา หอสมุดรัฐสภา – Russia

อ่านเพิ่ม

  • Christian, David. A History of Russia, Mongolia and Central Asia. Blackwell, 1999.
  • Franklin, Simon and Shepard, Jonathon, The Emergence of Rus, 750–1200. (Longman History of Russia, general editor Harold Shukman.) Longman, London, 1996. ISBN 0-582-49091-X
  • Fennell, John, The Crisis of Medieval Russia, 1200–1304. (Longman History of Russia, general editor Harold Shukman.) Longman, London, 1983. ISBN 0-582-48150-3
  • Jones, Gwyn. A History of the Vikings. 2nd ed. London: Oxford Univ. Press, 1984.
  • Martin, Janet, Medieval Russia 980–1584. Cambridge University Press, Cambridge, 1993. ISBN 0-521-36832-4
  • Obolensky, Dimitri (1974) [1971]. The Byzantine Commonwealth: Eastern Europe, 500–1453. London: Cardinal. ISBN 9780351176449.
  • Pritsak, Omeljan. The Origin of Rus'. Cambridge Massachusetts: Harvard University Press, 1991.
  • Stang, Håkon. The Naming of Russia. Meddelelser, Nr. 77. Oslo: University of Oslo Slavisk-baltisk Avelding, 1996.
  • Alexander F. Tsvirkun E-learning course. History of Ukraine. Journal Auditorium, Kiev, 2010.
  • Velychenko, Stephen, National history as cultural process: a survey of the interpretations of Ukraine's past in Polish, Russian, and Ukrainian historical writing from the earliest times to 1914. Edmonton, 1992.
  • Velychenko, Stephen, "Nationalizing and Denationalizing the Past. Ukraine and Russia in Comparative Context", Ab Imperio 1 (2007).
  • Velychenko, Stephen "New wine old bottle. Ukrainian history Muscovite-Russian Imperial myths and the Cambridge-History of Russia," http://historians.in.ua/index.php/dyskusiya/853-stephen-velychenko-new-wine-old-bottle-ukrainian-history-muscovite-russian-imperial-myths-and-the-cambridge-history-of-russia

แหล่งข้อมูลอื่น

Tags:

จักรวรรดิรุสเคียฟ อ้างอิงจักรวรรดิรุสเคียฟ อ่านเพิ่มจักรวรรดิรุสเคียฟ แหล่งข้อมูลอื่นจักรวรรดิรุสเคียฟ

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

อริยบุคคลจรินทร์พร จุนเกียรติกระทรวงในประเทศไทยจุลจักร จักรพงษ์จักรพรรดินโปเลียนที่ 1มหาวิทยาลัยมหิดลประเทศสิงคโปร์ฮ่องกงดอลลาร์สหรัฐโอมเนื้อหนังมังผีนรวิชญ์ ฐิติเจริญรักษ์ช่อง 3 เอชดีกูเกิลรายชื่อตัวละครในเกิดใหม่ทั้งทีก็เป็นสไลม์ไปซะแล้วชาบี อาลอนโซไทยรัฐAณราวิชญ์ เลิศรัตน์โกสุมภ์เขตการปกครองของประเทศพม่าเทศน์ เฮนรี ไมรอนท้าวสุรนารีคินน์พอร์ชคณะองคมนตรีไทยหม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุลสุภาพบุรุษจุฑาเทพเศรษฐา ทวีสินโครงการเติมเงินผ่านกระเป๋าเงินดิจิทัล 10,000 บาทรายชื่อค่ายทหารในสังกัดกองทัพบกไทยการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงมหาวิทยาลัยรังสิตภูธเนศ หงษ์มานพอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งเครือเจริญโภคภัณฑ์มุฮัมมัดราชินีแห่งน้ำตาผ่าพิภพไททันประเทศฟิลิปปินส์น้ำอสุจิบยอน อู-ซ็อกจังหวัดตรังประเทศอิตาลีประเทศคาซัคสถานอแมนด้า ออบดัมสโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตีสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าฉัตรชัย เปล่งพานิชโบรูโตะหมากรุกไทยศาสนาพุทธรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยพิจิกา จิตตะปุตตะคำอุปสรรคเอสไอพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)ไฟเยอโนร์ดพรนับพัน พรเพ็ญพิพัฒน์สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหารสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตาฟุตซอลทีมชาติไทยสามก๊กกองบัญชาการตำรวจนครบาลสหภาพโซเวียตพัฒน์ชัย ภักดีสู่สุขเจนนิเฟอร์ คิ้มพระศรีอริยเมตไตรยซูเปอร์เซ็นไตซีรีส์เซลล์ (ชีววิทยา)ลุค อิชิกาวะ พลาวเดนมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒบาป 7 ประการและสิ่งสุดท้ายสี่อย่างรัฐฉานภาวะโลกร้อนประเทศออสเตรเลียจังหวัดพิษณุโลกฟุตบอลโลกชาลี ไตรรัตน์🡆 More