จอห์น บี. กูดอีนาฟ

จอห์น บานนิสเตอร์ กูดอีนาฟ (อังกฤษ: John Bannister Goodenough; 25 กรกฎาคม 1922 – 25 มิถุนายน 2023) เป็นนักฟิสิกส์และนักวิทยาศาสตร์ด้านวัสดุชาวอเมริกัน เขาเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยเท็กซัสที่ออสติน เขามีส่วนสำคัญในการพัฒนาแบตเตอรี่ลิเธียมไอออน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเขามีส่วนร่วมในการค้นพบวัสดุแคโทดที่สำคัญที่สุด ในปี 2019 ขณะที่เขาอายุ 97 ปี เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีร่วมกับ เอ็ม.

สแตนลีย์ วิตติงแฮม และ อากิระ โยชิโนะ ทำให้เขาเป็นบุคคลที่มีอายุมากที่สุดที่ได้รับรางวัลโนเบล โดยพิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคม 2019

จอห์น บี. กูดอีนาฟ
จอห์น บี. กูดอีนาฟ
กูดอีนาฟในปี 2019
เกิดจอห์น บานนิสเตอร์ กูดอีนาฟ
25 กรกฎาคม ค.ศ. 1922(1922-07-25)
เยนา, เยอรมนี
เสียชีวิต25 มิถุนายน ค.ศ. 2023(2023-06-25) (100 ปี)
ออสติน, รัฐเท็กซัส, สหรัฐอเมริกา
การศึกษาYale University (BS)
University of Chicago (MS, PhD)
มีชื่อเสียงจากLi-ion rechargeable battery
Goodenough–Kanamori rules
(RAM) random access memory
รางวัลJapan Prize (2001)
Enrico Fermi Award (2009)
National Medal of Science (2011)
IEEE Medal for Environmental and Safety Technologies (2012)
Charles Stark Draper Prize (2014)
Welch Award (2017)
Copley Medal (2019)
Nobel Prize in Chemistry (2019)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาฟิสิกส์
สถาบันที่ทำงานMassachusetts Institute of Technology
University of Oxford
University of Texas at Austin
วิทยานิพนธ์A theory of the deviation from close packing in hexagonal metal crystals (1952)
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอกClarence Zener
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงBill David (postdoc)
มีอิทธิพลต่อNevil Francis Mott
John C. Slater
Philip Warren Anderson
ได้รับอิทธิพลจากAkira Yoshino C. N. R. Rao

กูดอีนาฟเกิดที่เยนา ประเทศเยอรมนี โดยมีพ่อแม่เป็นชาวอเมริกัน ระหว่างและหลังจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเยล กูดอีนาฟดำรงตำแหน่งเป็นนักอุตุนิยมวิทยาสำหรับทหารสหรัฐในสงครามโลกครั้งที่สอง เขารับปริญญาเอกในสาขาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก และเป็นนักวิจัยที่ MIT Lincoln Laboratory และต่อมาเป็นหัวหน้าห้องปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ตั้งแต่ปี 1986 เขาได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเท็กซัส

อ้างอิง

Tags:

ภาษาอังกฤษมหาวิทยาลัยเท็กซัสรางวัลโนเบลสาขาเคมีออสตินอากิระ โยชิโนะแคโทดแบตเตอรี่ลิเธียมไอออน

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

รณิดา เตชสิทธิ์มหาวิทยาลัยนเรศวรฟุตซอลโลก 2024หมายเลขโทรศัพท์ในประเทศไทยแมวสายัณห์ สัญญาหลวงปู่ดู่ พฺรหฺมปญฺโญณัฐภัสสร สิมะเสถียรชาบี อาลอนโซสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ICD-10กบฏเจ้าอนุวงศ์ซิลลี่ ฟูลส์โลก (ดาวเคราะห์)เทย์เลอร์ สวิฟต์อาณาจักรอยุธยาวิธวัฒน์ สิงห์ลำพองบาป 7 ประการและสิ่งสุดท้ายสี่อย่างเปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟินอสมทณัฐฐชาช์ บุญประชมปฏิจจสมุปบาทเซลล์ (ชีววิทยา)หลิว เจียหลิงรายชื่อภาพยนตร์ที่ทำเงินสูงสุดในประเทศไทยภาษาไทยถิ่นเหนือประเทศติมอร์-เลสเตเซี่ยงไฮ้สโมสรฟุตบอลอัลอะฮ์ลีอัสซะอูดีน้ำอสุจิพระพุทธเจ้าเมษายนสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ตระกูลเจียรวนนท์จังหวัดเพชรบุรีกกบิลลี ไอลิชหญิงรักร่วมเพศรายการรหัสไปรษณีย์ไทยนามสกุลพระราชทานรถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยาทรานส์ฟอร์เมอร์ส (ภาพยนตร์ชุด)ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024ตระกูลบุนนาคสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทรธนินท์ เจียรวนนท์แฮร์รี แมไกวร์อาเลฆันโดร การ์นาโชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเชฟฟีลด์ยูไนเต็ดจักรพรรดินโปเลียนที่ 1พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตจังหวัดพิษณุโลกรางวัลนาฏราช ครั้งที่ 15เสกสรรค์ ศุขพิมายองศาเซลเซียสรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยรายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีบรรดาศักดิ์อังกฤษสโมสรฟุตบอลเชลซีพล ตัณฑเสถียรปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์พรนับพัน พรเพ็ญพิพัฒน์เอกซ์เจแปนพอได้เกิดใหม่เป็นองค์ชายลําดับที่เจ็ด ก็เพื่อเรียนเวทให้สนุกสมเด็จพระนเรศวรมหาราชคณะองคมนตรีไทยพรรคก้าวไกลสีประจำวันในประเทศไทยบริษัทX-เม็น (ภาพยนตร์ชุด)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรงกรรม🡆 More