คาตากานะ

คาตากานะ (ญี่ปุ่น: 片仮名, カタカナ, かたかな; โรมาจิ: katakana) เป็นตัวอักษรสำหรับแทนเสียงในภาษาญี่ปุ่นประเภทหนึ่ง และสามารถนำไปเขียนแทนเสียงภาษาต่างประเทศได้เช่นกัน คาตากานะได้รับการนำไปเขียนภาษาไอนุซึ่งเป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยอยู่ทางภาคเหนือของเกาะฮกไกโด

คาตากานะ
คาตากานะ
ชนิดอักษรพยางค์
ภาษาพูดภาษาญี่ปุ่น
ภาษาโอกินาวะ
ภาษาไอนุ
ภาษาปาเลา
ช่วงยุคประมาณ พ.ศ. 1343 (ค.ศ. 800)–ปัจจุบัน
ระบบแม่
Oracle Bone Script
ระบบพี่น้องฮิรางานะ, เฮ็นไตงานะ
ช่วงยูนิโคดU+30A0–U+30FF
ISO 15924Kana
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

การใช้

คาตากานะมีสัญลักษณ์ 48 ตัว ในยุคแรกรู้จักในนาม การเขียนของผู้ชาย คาตากานะใช้กับคำยืมที่ไม่ได้มาจากภาษาจีนเป็นส่วนใหญ่ รวมทั้งการเลียนเสียง ชื่อจากภาษาอื่น การเขียนโทรเลข และการเน้นคำ (แบบเดียวกับการใช้อักษรตัวใหญ่ในภาษาอังกฤษ) ก่อนหน้านั้นคำยืมทั้งหมดเขียนด้วยคันจิ ใช้ในหลายกรณี ได้แก่

  • ใช้เขียนคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ ชื่อชาวต่างประเทศ และชื่อสถานที่ในต่างประเทศซึ่งเป็นวิสามานยนาม เช่น ホテル (โฮเตรุ หรือ Hotel (โรงแรม))
  • ใช้เขียนคำซึ่งเลียนเสียงในธรรมชาติ เช่น ワン ワン (วังวัง เสียงเห่าของสุนัข)
  • ใช้เขียนชื่อญี่ปุ่น (和名) ของสัตว์และแร่ธาตุ เช่น カルシウム (คารูชิอุมุ หรือ แคลเซียม)
  • ใช้ในเอกสารใช้ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง (ใช้ร่วมกับตัวอักษรคันจิ)
  • ใช้ในโทรเลข และระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงก่อนเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2531 ซึ่งยังไม่มีการใช้ระบบตัวอักษรหลายไบต์ (เช่น ยูนิโคด)

ที่มา

คาตากานะ 
ที่มาของคาตากานะจากอักษรจีน

ตัวอักษรคาตากานะนั้นสร้างขึ้นในยุคเฮอัง (平安時代) โดยนำมาจากส่วนหนึ่งของตัวคันจิพัฒนามาจาก อักษรจีนที่ใช้โดยพระภิกษุเพื่อแสดงการออกเสียงอักษรจีนที่ถูกต้องเมื่อประมาณ พ.ศ. 1400 ในช่วงแรกมีสัญลักษณ์หลายตัวที่แสดงเสียงเดียวกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไป อักษรถูกปรับปรุงให้ดีขึ้น ราว พ.ศ. 1900 มีสัญลักษณ์ 1 ตัว ต่อ 1 พยางค์เท่านั้น คำว่า คาตากานะ หมายถึงอักษรพยางค์ที่เป็นส่วน (ของคันจิ)

ตารางคาตากานะ

สระและพยัญชนะ yōon
อะ อิ อุ เอะ โอะ ยะ ยุ โยะ
คะ คิ คุ เคะ โคะ キャ เคียะ (คฺยะ) キュ คิว (คฺยุ) キョ เคียว (โคฺยะ)
ซะ ชิ ซุ เซะ โซะ シャ ชะ シュ ชุ ショ โชะ
ทะ ท๎ชิ ท๎สึ เทะ โทะ チャ ท๎ชะ チュ ท๎ชุ チョ โท๎ชะ
นะ นิ นุ เนะ โนะ ニャ เนียะ (นฺยะ) ニュ นิว (นฺยุ) ニョ เนียว (โนฺยะ)
ฮะ ฮิ ฟุ, ฮุ เฮะ โฮะ ヒャ เฮียะ (ฮฺยะ) ヒュ ฮิว (ฮฺยุ) ヒョ เฮียว (โฮฺยะ)
มะ มิ มุ เมะ โมะ ミャ เมียะ (มฺยะ) ミュ มิว (มฺยุ) ミョ เมียว (โมฺยะ)
ยะ คาตากานะ  ยิ1 ยุ คาตากานะ  เยะ1 โยะ
ระ ริ รุ เระ โระ リャ เรียะ (รฺยะ) リュ ริว (รฺยุ) リョ เรียว (โรฺยะ)
วะ (ヰ) ウィ วิ คาตากานะ  วุ1 (ヱ) ウェ เวะ (ヲ) ウォ โวะ
อึง
กะ กิ กุ เกะ โกะ ギャ เกียะ (กฺยะ) ギュ กิว (กฺยุ) ギョ เกียว (โกฺยะ)
ด๎สะ ด๎ชิ ด๎สุ เด๎สะ โด๎สะ ジャ ด๎ชะ ジュ ด๎ชุ ジョ โด๎ชะ
ดะ ด๎ชิ ด๎สึ เดะ โดะ ヂャ ด๎ชะ ヂュ ด๎ชุ ヂョ โด๎ชะ
บะ บิ บุ เบะ โบะ ビャ เบียะ (บฺยะ) ビュ บิว (บฺยุ) ビョ เบียว (โบฺยะ)
พะ พิ พุ เพะ โพะ ピャ เพียะ (พฺยะ) ピュ พิว (พฺยุ) ピョ เพียว (โพฺยะ)
(ヷ) ヴァ va “bwa” บ๎วะ (ヸ) ヴィ vi “bwi” บ๎วิ vu “bwu” บ๎วุ (ヹ) ヴェ ve “bwe” เบ๎วะ (ヺ) ヴォ vo “bwo” โบ๎วะ ヴャ vya “bwya” บ๎วฺฺยะ ヴュ vyu “bwyu” บ๎วฺยุ ヴョ vyo “Bwyo” โบ๎วฺยะ
ジェ เด๎ชะ
シェ เชะ
チェ เท๎ชะ
ティ ทิ トゥ ทุ テュ ทิว (ทฺยุ)
ディ ดิ ドゥ ดุ デュ ดิว (ดฺยุ)
ツァ ท๎สะ ツィ ท๎สิ ツェ เท๎สะ ツォ โท๎สะ
ファ ฟะ フィ ฟิ フェ เฟะ フォ โฟะ フュ ฟิว (ฟฺยุ)
    1 ยุคเมจิตอนต้นมีการเสนอให้ใช้คาตากานะ คาตากานะ  คาตากานะ  คาตากานะ  แต่การเสนอก็ตกไป

ยูนิโคด

คะตะกะนะ
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+30Ax
U+30Bx
U+30Cx
U+30Dx
U+30Ex
U+30Fx


คะตะกะนะ ส่วนขยายสัทลักษณ์
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+31Fx


อ้างอิง

Tags:

คาตากานะ การใช้คาตากานะ ที่มาคาตากานะ ตารางคาตากานะ ยูนิโคดคาตากานะ อ้างอิงคาตากานะภาษาญี่ปุ่นภาษาไอนุเกาะฮกไกโดโรมาจิ

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

โทโยโตมิ ฮิเดโยชิสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตนายกรัฐมนตรีไทยสกูบี้-ดูเจนี่ อัลภาชน์ ณ ป้อมเพชรโรงเรียนเทพศิรินทร์นิชคุณ ขจรบริรักษ์บัญญัติ 10 ประการฟุตบอลโลก 2026 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย – รอบที่ 2ณเดชน์ คูกิมิยะมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รายชื่อสกุลญี่ปุ่นที่ใช้มากที่สุดเอ็กซูม่ารายชื่อสัตว์อุษามณี ไวทยานนท์บรูโน มาส์นนท์ อัลภาชน์จักรภพ ภูริเดชท่าอากาศยานสุวรรณภูมิประเทศซาอุดีอาระเบียวศิน อัศวนฤนาทแฮร์รี่ พอตเตอร์ซามูไรรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนนทบุรีจัน ดารา (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)วันศุกร์ประเสริฐเศรษฐา ทวีสินเด่นคุณ งามเนตรเมืองพัทยากิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ภูมิภาคของประเทศไทยมาร์ก ซักเคอร์เบิร์กเจษฎ์ โทณะวณิกรายชื่อตอนในโปเกมอนเดมี มัวร์การรถไฟแห่งประเทศไทยมหาวิทยาลัยมหิดลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าอดอล์ฟ ฮิตเลอร์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์จังหวัดระยองหลิน เกิงซินฟุตบอลทีมชาติเกาหลีใต้ไพ่แคงอาลิง โฮลันรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดญีนา ซาลาสสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเกมพีระมิด (ละครโทรทัศน์เกาหลีใต้)สุวัฒน์ แจ้งยอดสุขเกียรติศักดิ์ เสนาเมืองมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒพิจิตตรา สิริเวชชะพันธ์กวนอิมฟุตบอลทีมชาติไทยเทย์เลอร์ สวิฟต์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรมาตาลดาวชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชบูมเมอแรง (ประเทศไทย)ดาบพิฆาตอสูรสงกรานต์ในประเทศไทยแอน ทองประสมศุภพงษ์ อุดมแก้วกาญจนาคงกะพัน แสงสุริยะโรงเรียนวัดสุทธิวรารามสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงรัฐของสหรัฐจังหวัดสงขลาฟุตบอลกองทัพเรือไทยอินเทอร์เน็ตราชมังคลากีฬาสถาน🡆 More