อักษรมณีปุระ

อักษรมณีปุระ (Manipuri alphabet), อักษรไมไตมะเยก (Meitei Mayek) หรือ อักษรมีไตมะเยก (ꯃꯤꯇꯩ ꯃꯌꯦꯛ; Meetei Mayek) เป็นอักษรสระประกอบที่ใช้ในภาษามณีปุระ ซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการของรัฐมณีปุระ เคยถูกใช้จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เมื่อภาษานี้ถูกแทนที่ด้วยอักษรเบงกอล ทำให้มีเอกสารตัวเขียนไม่กี่อันที่เหลือรอด ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 จึงเริ่มมีการใช้อักษรนี้อีกครั้ง

อักษรมณีปุระ
อักษรมณีปุระ
ชนิดอักษรสระประกอบ
ภาษาพูดภาษามณีปุระ
ช่วงยุคประมาณ ค.ศ. 1100 – 1700, 1930 – ปัจจุบัน
ระบบแม่
ระบบพี่น้องเลปชา, พักส์-ปา, Marchen
ช่วงยูนิโคด
ISO 15924Mtei
[a] ต้นกำเนิดอักษรพราหมีจากอักษรเซมิติกไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล

เนื่องจากภาษามณีปุระไม่มีพยัญชนะก้อง ทำให้มีตัวพยัญชนะสำหรับศัพท์ดั้งเดิมแต่ 15 ตัว บวกพยัญชนะสำหรับสระบริสุทธิ์ 3 ตัว 9 พยัญชนะสำหรับคำยืมในกลุ่มภาษาอินเดีย มีเครื่องหมายเสริมสัทอักษร 7 แบบ และเครื่องหมายเสริมสัทอักษรพยัญชนะสุดท้าย (/ŋ/) ชื่อของพยัญชนะ 27 ตัวไม่เป็นเพียงชื่อทางสัทศาสตร์เท่านั้น แต่ยังอิงมาจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ด้วย

ชื่อตัวอักษร

หนึ่งในคุณสมบัติเฉพาะของอักษรนี้คือการใช้ส่วนของร่างกายไปตั้งเป็นชื่ออักษร ทุกตัวอักษรตั้งชื่อตามส่วนร่างกายของมนุษย์ในภาษามณีปุระ เช่น ตัวอักษรแรก "kok" แปลว่า "หัว"; ตัวอักษรที่สอง "sam" แปลว่า "ผม"; ตัวอักษรที่สาม "lai" แปลว่า "หน้าผาก" เป็นต้น โดยมีหลักฐานจากหนังสือศักดิ์สิทธิ์ "Wakoklol Heelel Theelel Salai Amailol Pukok Puya" ซึ่งมีรายละเอียดว่าชื่อของแต่ละตัวอักษรมีที่มาอย่างไร

พยัญชนะ
ตัวอักษร ชื่อ อักษรละติน สัทอักษรสากล
kok K /k/
sam S /s/
lai L /l/
mit M /m/
pa P /p/
na N /n/
chil Ch /t͡ʃ/
til T /t/
khou Kh /kʰ/
ngou Ng /ŋ/
thou Th /tʰ/
wai W /w/
yang Y /j/
huk H /h/
un U /u(ː)/
ee I หรือ E /i(ː)/
pham F หรือ Ph /pʰ/
atiya A /ɐ/
gok G /g/
jham Jh /d͡ʒʱ/
rai R /ɾ/
ba B /b/
jil J /d͡ʒ/
dil D /d/
ghou Gh /gʱ/
dhou Dh /dʱ/
bham Bh /bʱ/
พยางค์อักษร
ตัวอักษร ชื่อ ที่มาจากอักษรมณีปุระ
kok lonsum
lai lonsum
mit lonsum
pa lonsum
na lonsum
til lonsum
ngou lonsum
ee lonsum

ตัวเลข

ตัวเลขอารบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตัวเลขมณีปุระ
ชื่อ ꯐꯨꯟ
phun
ꯑꯃ
ama
ꯑꯅꯤ
ani
ꯑꯍꯨꯝ
ahum
ꯃꯔꯤ
mari
ꯃꯉꯥ
mangā
ꯇꯔꯨꯛ
taruk
ꯇꯔꯦꯠ
taret
ꯅꯤꯄꯥꯜ
nipāl
ꯃꯥꯄꯜ
māpal

ยูนิโคด

มีไตมะเยก[1][2]
Official Unicode Consortium code chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+ABCx
U+ABDx
U+ABEx
U+ABFx
หมายเหตุ
    1.^ ในรุ่น 14.0
    2.^ บริเวณสีเทาคือบริเวณที่ไม่ลงรหัส
มีไตมะเยก ส่วนขยาย[1][2]
Official Unicode Consortium code chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+AAEx
U+AAFx     
หมายเหตุ
    1.^ ในรุ่น 14.0
    2.^ บริเวณสีเทาคือบริเวณที่ไม่ลงรหัส


อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Chelliah, Shobhana L. (1997). A grammar of Meithei. Berlin: Mouton de Gruyter. ISBN 0-19-564331-3.
  • Chelliah, Shobhana L. (2002). Early Meithei manuscripts. In C. I. Beckwith (Ed.), Medieval Tibeto-Burman languages: PIATS 2000: Tibetan studies: Proceedings of the ninth seminar of the International Association of Tibetan Studies, Leiden 2000 (pp. 59–71). Leiden, Netherlands: Brill.
  • Chelliah, Shobhana L. (2002). A glossary of 39 basic words in archaic and modern Meithei. In C. I. Beckwith (Ed.), Medieval Tibeto-Burman languages: PIATS 2000: Tibetan studies: Proceedings of the ninth seminar of the International Association of Tibetan Studies, Leiden 2000 (pp. 189–190). Leiden, Netherlands: Brill.

แหล่งข้อมูลอื่น

Tags:

อักษรมณีปุระ ชื่อตัวอักษรอักษรมณีปุระ ตัวเลขอักษรมณีปุระ ยูนิโคดอักษรมณีปุระ อ้างอิงอักษรมณีปุระ บรรณานุกรมอักษรมณีปุระ แหล่งข้อมูลอื่นอักษรมณีปุระภาษามณีปุระรัฐมณีปุระอักษรสระประกอบอักษรเบงกอล

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)อัสนี-วสันต์มาสค์ไรเดอร์ซีรีส์กำแพงเมืองจีนสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีดาบพิฆาตอสูรรางวัลนาฏราชภาคตะวันตก (ประเทศไทย)สายัณห์ สัญญาชวน หลีกภัยวิดีโอประเทศรัสเซียพิศวาสฆาตเกมส์อดอล์ฟ ฮิตเลอร์พวงเพ็ชร ชุนละเอียดจังหวัดน่านรถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลืองพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยจนกว่าจะได้รักกันสราวุฒิ พุ่มทองสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศมหาวิทยาลัยบูรพานารีริษยาธนาคารทหารไทยธนชาตไดโนเสาร์รอยรักรอยบาปจักรพรรดิยงเจิ้งวชิรวิชญ์ ชีวอารีพ.ศ. 2565เกตุเสพย์สวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยาอัสซะลามุอะลัยกุมจักรพรรดิคังซีมหาวิทยาลัยมหาสารคามสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญาผู้หญิง 5 บาปโชกุน (ละครโทรทัศน์ปี 2024)พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรกรมสรรพากรแอน อรดีเซเว่น อีเลฟเว่นอินสตาแกรมสงครามโลกครั้งที่สองหน้าหลักไฟเยอโนร์ดเกิดชาตินี้พี่ต้องเทพธี่หยด 2สุชาติ ภิญโญจักรราศีสมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชการบินไทยIพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)เว็บไซต์เหี้ยยุทธการที่เซกิงาฮาระจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายชื่อตอนในเป็นต่อ (ช่องวัน)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกรายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยรัญชน์รวี เอื้อกูลวราวัตรจักรพรรดินโปเลียนที่ 1สฤษดิ์ ธนะรัชต์จังหวัดตากชาบี อาลอนโซประเทศติมอร์-เลสเตกองบัญชาการตำรวจนครบาลรามาวดี นาคฉัตรีย์พระพุทธเจ้าวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารรัมมี่โอลิมปิกฤดูร้อน 2024จังหวัดภูเก็ตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยรายชื่อโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานครมุฮัมมัดวันแอนแซกเกย์ยูเอสเอส ทีโอดอร์ โรเซอเวลต์ (CVN-71)🡆 More