ออสเตรียภายใต้การยึดครองของฝ่ายสัมพันธมิตร

ฝ่ายสัมพันธมิตรยึดครองออสเตรีย ได้เริ่มต้นเมื่อวันที่ 27 เมษายน ค.ศ.

1945 เป็นผลมาจากการรุกเวียนนา และสิ้นสุดลงด้วยสนธิสัญญารัฐออสเตรีย เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1955

สาธารณรัฐออสเตรีย

Republik Österreich  (เยอรมัน)
1945–1955
เขตการยึดครองในออสเตรีย
เขตการยึดครองในออสเตรีย
สถานะการยึดครองทางทหาร
เมืองหลวงเวียนนา
ภาษาทั่วไปเยอรมัน (เยอรมันออสเตรีย)
ออสเตรีย-บาวาเรียน, แอเลแมนนิก, Burgenland Croatian, ภาษาสัญลักษณ์ออสเตรีย
ศาสนา
ศาสนาคริสต์ (คาทอลิก, อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์, โปรเตสแตนต์)
การปกครองสหพันธรัฐแบบระบอบรัฐสภาโดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขขึ้นตรงกับสภาควบคุมฝ่ายสัมพันธมิตร
Governors 
• เขตบริติซ
General McCreery
• เขตฝรั่งเศส
Lieutenant General Béthouart
• เขตอเมริกัน
General Clark
• เขตโซเวียต
จอมพล โคเนฟ
President 
• 1945–1950
คาร์ล เร็นเนอร์
• 1951–1955
Theodor Körner
Chancellor 
• 1945
คาร์ล เร็นเนอร์
• 1945–1953
Leopold Figl
• 1953–1955
Julius Raab
ยุคประวัติศาสตร์ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง, สงครามเย็น
13 เมษายน ค.ศ. 1945
• ก่อตั้ง
27 เมษายน 1945
27 กรกฎาคม 1955
• ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ถอนกำลังชุดสุดท้ายออกจากการยึดครอง
25 ตุลาคม ค.ศ. 1955
ประชากร
• 1945
6,793,000
• 1955
6,947,000
สกุลเงินAustrian schilling
ก่อนหน้า
ถัดไป
ออสเตรียภายใต้การยึดครองของฝ่ายสัมพันธมิตร ชาติสังคมนิยมออสเตรีย
สาธารณรัฐออสเตรียที่ 2 ออสเตรียภายใต้การยึดครองของฝ่ายสัมพันธมิตร

ภายหลังจากอันชลุส ออสเตรียได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นส่วนหนึ่งของนาซีเยอรมนี ในปี ค.ศ. 1943 อย่างไรก็ตาม, ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ตกลงกันในปฏิญญาณมอสโกว่า ออสเตรียนั้นเป็นเหยื่อรายแรกจากการรุกรานของนาซี และได้ถือว่าประเทศควรได้รับการปลดปล่อยและเอกราชหลังสงคราม

ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองถัดมา ออสเตรียได้ถูกแบ่งออกเป็นสี่เขตยึดครองและร่วมมือกันในการยึดครองโดยสหรัฐอเมริกาสหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และฝรั่งเศส กรุงเวียนนาได้ถูกแบ่งออกเป็นเขตย่อยในทำนองเดียวกัน แต่เขตศูนย์กลางได้รับการจัดการร่วมกันโดยสภาควบคุมฝ่ายสัมพันธมิตร

ในขณะที่เยอรมนีได้ถูกแบ่งออกเป็นเยอรมนีตะวันตกและเยอรมนีตะวันออกในปี ค.ศ. 1949 ออสเตรียยังคงอยู่ภายใต้การยึดครองของฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกและสหภาพโซเวียตจนกระทั่งปี ค.ศ. 1955 สถานะของมันได้กลายเป็นเรื่องที่มีการถกเถียงกันในสงครามเย็นจนกระทั่งความอบอุ่นของความสัมพันธ์ที่เป็นที่รู้จักกันคือ การผ่อนปรนครุชชอฟ (Khrushchev Thaw) ภายหลังจากที่ออสเตรียได้สัญญาว่าจะวางตัวเป็นกลางมาโดยตลอด ออสเตรียก็ได้รับอิสรภาพอย่างเต็มที่ในวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 และกองกำลังทหารชุดสุดท้ายที่ได้ออกจากการยึดครอง เมื่อวันที่ 25 ตุลาคมในปีเดียวกัน

Tags:

การรุกเวียนนาสนธิสัญญารัฐออสเตรีย

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

นารีริษยางูกะปะวิกิพีเดียภักดีหาญส์ หิมะทองคำท่าอากาศยานดอนเมืองเมษายนคริสเตียโน โรนัลโดหลวงปู่ดู่ พฺรหฺมปญฺโญจังหวัดนครศรีธรรมราชกำแพงเมืองจีนสมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชณัฐวรรธน์ จิโรชน์ธิกุลทรานส์ฟอร์เมอร์ส (ภาพยนตร์ชุด)จักรพงษ์ แสงมณีบุพเพสันนิวาสโยฮัน ไกรฟฟ์นิชคุณ ขจรบริรักษ์ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเว็บไซต์รณิดา เตชสิทธิ์บางกอกอารีนาจังหวัดสระบุรีอุรัสยา เสปอร์บันด์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกภาษาญี่ปุ่นปรีชญา พงษ์ธนานิกรภาษาไทยปวีณ พงศ์สิรินทร์จังหวัดหนองคายสุภาพร มะลิซ้อนวิธวัฒน์ สิงห์ลำพองอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์เฟซบุ๊กกฤษณภูมิ พิบูลสงครามจังหวัดพิจิตรวัดไร่ขิงศาสนาอิสลามกรมการปกครองสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดอสมทราศีเมษปฏิจจสมุปบาทกฤษดา วงษ์แก้วสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็งมิเกล อาร์เตตานภคปภา นาคประสิทธิ์จังหวัดชัยนาทมรรคมีองค์แปดวันมูหะมัดนอร์ มะทาทวี ไกรคุปต์ใหม่ เจริญปุระลิซ่า (แร็ปเปอร์)ประวัติศาสตร์จีนศุภศิษฏ์ จงชีวีวัฒน์สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยรามคำแหงวันวิสาขบูชาบรูนู ฟือร์นังดึชน้ำอสุจิวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหารโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยดราก้อนบอลเฌอปราง อารีย์กุลประเทศออสเตรเลียข้าราชการไทยเอกซ์เอกซ์เอกซ์เทนเทสซิยอนรัฐฉานแฮร์รี่ พอตเตอร์เกศริน ชัยเฉลิมพลการบินไทยรัมมี่ธนินท์ เจียรวนนท์เดนิส เจลีลชา คัปปุนราชกิจจานุเบกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือปริญ สุภารัตน์🡆 More