บัณฑิต เอื้ออาภรณ์

ศาสตราจารย์ บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคนปัจจุบัน อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้แทนผู้บริหารและอดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บัณฑิตเป็นอธิการบดีคนที่ 2 ในวาระการดำรงตำแหน่งนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.

คุณหญิงสุชาดา กีระนันทน์ และเป็นอธิการบดีคนแรกในวาระการดำรงตำแหน่งนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ภิรมย์ กมลรัตนกุล

บัณฑิต เอื้ออาภรณ์
อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เริ่มดำรงตำแหน่ง
18 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
ก่อนหน้าศ.นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล
คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดำรงตำแหน่ง
พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 – พฤษภาคม พ.ศ. 2559
ก่อนหน้ารศ. ดร.บุญสม เลิศหิรัญวงศ์
ถัดไปรศ. ดร.สุพจน์เตชวรสินสกุล
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด2 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 (58 ปี)
ประเทศไทย
ลายมือชื่อบัณฑิต เอื้ออาภรณ์

หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาในคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 34/2560ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ประวัติ

บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ เกิดเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 เป็นหัวหน้าโครงการจัดทำแผนแม่บทพลังงานของประเทศ 20 ปี ซึ่งในการกำหนดแผนฯครั้งนี้ มีการรับฟังความคิดเห็นจากภาคประชาชนมาตั้งแต่เริ่ม โดยไม่ใช่ร่างแผนแม่บทเสร็จแล้วขอความเห็นจากประชาชน แต่เป็นการขอความเห็นตั้งแต่ต้นเพื่อร่างแผนแม่บทฯ ว่าปัจจัยขับเคลื่อนที่ประชาชนเห็นว่าสำคัญมีอะไรบ้าง จากนั้นเรานำมาประกอบการทำแผนฯครั้งนี้ นับเป็นแผนฯที่ผ่านความคิดเห็นของภาคประชาชนมาตั้งแต่ต้น หลังจากนั้นจะนำข้อคิดเห็นเหล่านี้มาใช้ปรับปรุงผลการศึกษาและใช้เป็นข้อมูลต่อยอดการพัฒนาแผนแม่บทพลังงานในระยะที่ 2 คาดว่าจะใช้เวลาอีก 6 เดือน ก่อนที่จะเขียนแผนแม่บทฯ

วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2559 ที่ประชุมสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครั้งที่ 788 มีมติเห็นชอบให้เสนอชื่อ บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ (คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์) เพื่อขอพระราชทานโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คนต่อไป โดยมีวาระ 18 พฤษภาคม 2559 - 17 พฤษภาคม 2563 แทน ศ.นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล ที่หมดวาระ

บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ ดำรงตำแหน่ง อธิการบดีในช่วงเวลาที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีอายุ 100 ปี หรือในปี พ.ศ. 2560 ทำให้ในวาระการดำรงตำแหน่งของเขามีโครงการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยทยอยเปิดตัวขึ้นเป็นจำนวนมาก เช่น โครงการก่อสร้างอุทยานจุฬาฯ 100 ปีและถนนจุฬาฯ 100 ปี งานนิทรรศทางวิชาการขนาดใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่เรียกว่า "จุฬาฯ Expo 2017" และอื่น ๆ

ประวัติการศึกษา

ตำแหน่งหน้าที่ในปัจจุบัน

  • อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศาสตราจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตำแหน่งหน้าที่สำคัญในอดีต

  • คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้แทนผู้บริหาร
  • รองหัวหน้าฝ่ายวิชาการ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • กรรมการการไฟฟ้านครหลวง
  • รองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบกิจการพลังงาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
  • อนุกรรมการยกร่างพระราชบัญญัติประกอบกิจการไฟฟ้า สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
  • อนุกรรมการกลั่นกรองโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง


ก่อนหน้า บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ ถัดไป
ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์
ภิรมย์ กมลรัตนกุล
บัณฑิต เอื้ออาภรณ์  บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ 
อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(18 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน)
บัณฑิต เอื้ออาภรณ์  อยู่ในตำแหน่ง


Tags:

บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ ประวัติบัณฑิต เอื้ออาภรณ์ ประวัติการศึกษาบัณฑิต เอื้ออาภรณ์ ตำแหน่งหน้าที่ในปัจจุบันบัณฑิต เอื้ออาภรณ์ ตำแหน่งหน้าที่สำคัญในอดีตบัณฑิต เอื้ออาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อ้างอิงบัณฑิต เอื้ออาภรณ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยภิรมย์ กมลรัตนกุลรายนามนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

จังหวัดฉะเชิงเทราเอกซ์เจแปนนินจาคาถาโอ้โฮเฮะพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวข้ามมิติ ลิขิตสวรรค์ชาเคอลีน มึ้นช์สมณะโพธิรักษ์ประเทศอินโดนีเซียมัณฑนา หิมะทองคำรายชื่อยุทโธปกรณ์ในกองทัพบกไทยเปาบุ้นจิ้น (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2536)อาณาจักรสุโขทัยสุทธิรักษ์ ทรัพย์วิจิตรจังหวัดกระบี่ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)ชาบี อาลอนโซเกิดใหม่ทั้งทีก็เป็นสไลม์ไปซะแล้วการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์อิษยา ฮอสุวรรณเซลล์ (ชีววิทยา)ประเทศสิงคโปร์รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยโรงพยาบาลในประเทศไทยจังหวัดนครปฐมประเทศมาเลเซียจังหวัดสุรินทร์รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดมาสค์ไรเดอร์ซีรีส์จังหวัดตาก26 เมษายนพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567อักษรลาวเมตาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารธนินท์ เจียรวนนท์ปณิธาน บุตรแก้วสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)บรรดาศักดิ์อังกฤษรายชื่อค่ายทหารในสังกัดกองทัพบกไทยจังหวัดมหาสารคามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจังหวัดสระบุรีสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชบรรดาศักดิ์ไทยสมณศักดิ์สามก๊กหอแต๋วแตก (ภาพยนตร์ชุด)พิชญ์นาฏ สาขากรรายชื่อตอนในนารูโตะ ตำนานวายุสลาตันพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)สังโยชน์มิถุนายนยูทูบไบเออร์ 04 เลเวอร์คูเซินวันมูหะมัดนอร์ มะทาเป็นต่อจังหวัดนครศรีธรรมราชพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดป๊อกเด้งทุเรียนเมียวดีประยุทธ์ จันทร์โอชาเธอ ฟอร์ แคช สินเชื่อ..รักแลกเงินปราโมทย์ ปาทานรายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยรายพระนามพระพุทธเจ้าไฮบ์คอร์ปอเรชันภักดีหาญส์ หิมะทองคำวิดีโออะพอลโล 13บาปเจ็ดประการฐสิษฐ์ สินคณาวิวัฒน์กบฏเจ้าอนุวงศ์รายชื่อตัวละครในกังฟูแพนด้า🡆 More