สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี

การทัพอิตาลีในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยปฏิบัติการของฝ่ายสัมพันธมิตรทั้งในและรอบๆของประเทศอิตาลี ตั้งแต่ปี ค.ศ.

1943 จนถึงสงครามในยุโรปได้ยุติลง การร่วมมือของกองบัญชาการกองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตร (AFHQ) เป็นปฏิบัติการหน้าที่ความรับผิดชอบสำหรับกองทัพบกฝ่ายสัมพันธมิตรทั้งหมดในภูมิภาคทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และมีการวางแผนและสั่งการในการบุกครองเกาะซิซิลีในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1943 ตามมาด้วยไม่นานหลังจากนั้นในเดือนกันยายนโดยการบุกครองแผ่นดินใหญ่ของอิตาลีและการทัพบนแผ่นดินอิตาลีจนกระทั่งการยอมจำนนของกองทัพเยอรมันในอิตาลีในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945

การทัพอิตาลี
ส่วนหนึ่งของ ภูมิภาคทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี
ทหารอเมริกันของกองพลทหารราบสหรัฐที่ 92 ได้ยิงด้วยปืนบาซูก้าใส่รังปืนกลของเยอรมัน, ลุกกา ปี ค.ศ. 1944
วันที่10 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 – 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1945
(1 ปี 10 เดือน 22 วัน)
สถานที่
ผล
  • การล่มสลาย ฟาสซิสต์อิตาลี (1943)
  • การทำให้จนมุมและจำกัดโดยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร (1943-44)
  • การยอมจำนนของ กองทัพกลุ่มซี (1945)
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
การแบ่งแยกประเทศอิตาลี (1943)
คู่สงคราม

ฝ่ายสัมพันธมิตร:
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี สหราชอาณาจักร

สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี สหรัฐ
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี ฝรั่งเศสเสรี
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี แคนาดา
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี อิตาลี (ตั้งแต่ตุลาคม 1943)

  • สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี ความต้านทานของอิตาลี
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี โปแลนด์
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี นิวซีแลนด์
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี แอฟริกาใต้
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี บราซิล
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี กรีซ
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี เบลเยียม
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี ออสเตรเลีย
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี สโลวาเกีย

ฝ่ายอักษะ:

สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี ไรช์เยอรมัน
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี อิตาลี
  (จนถึง 8 กันยายน 1943)
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี สาธารณรัฐสังคมอิตาลี
  (ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน 1943)
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
C-in-C กองบัญชาการกองทัพพันธมิตร:
สหรัฐ ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์ (จนถึงเดือนมกราคม 1944)
สหราชอาณาจักร เฮนรี เมตแลนด์ วิลสัน (January to December 1944)
สหราชอาณาจักร แฮโรลด์ อเล็กซานเดอร์
  (ตั้งแต่เดือนธันวาคม 1944)
C-in-C กลุ่มกองทัพบก:
นาซีเยอรมนี อัลแบร์ท เค็สเซิลริง
นาซีเยอรมนี Heinrich von Vietinghoff (เชลย) (Oct 44 to Jan 45 and March 45 onwards)
ราชอาณาจักรอิตาลี วิตโตริโอ แอมโบรซิโอ
สาธารณรัฐสังคมอิตาลี โรดอลโฟ กราซีอานี (เชลย)
กำลัง
May 1944:
619,947 men (ration strength)
April 1945:
616,642 men (ration strength)
1,333,856 men (overall strength)
Aircraft:
3,127 aircraft (September 1943)
4,000 aircraft (March 1945)
May 1944:
นาซีเยอรมนี 365,616 men (ration strength)
April 1945:
นาซีเยอรมนี 332,524 men (ration strength)
นาซีเยอรมนี 439,224 men (overall strength)
สาธารณรัฐสังคมอิตาลี 160,180 men (military only)
Aircraft:
นาซีเยอรมนี 722 aircraft (September 1943)
นาซีเยอรมนี 79 aircraft (April 1945)
ความสูญเสีย

Sicily:
22,000 casualties
Italian mainland:
สหรัฐ 119,200
สหราชอาณาจักร 89,440
สงครามโลกครั้งที่สอง การทัพอิตาลี 57,000 KIA & WIA
กองกำลังฝรั่งเศสเสรี ~30,000
แคนาดา 25,890
บริติชราช ~20,000
โปแลนด์ ~11,000
นิวซีแลนด์ 8,668
ราชอาณาจักรอิตาลี 4,729
สหภาพแอฟริกาใต้ ~3,860
บราซิล 2,300
กรีซ 452
Total:
327,000–335,495 Casualties

Vehicles:
8,011 aircraft destroyed
สหรัฐ 3,377 armored vehicles destroyed

Sicily:
ราชอาณาจักรอิตาลี ~150,000
นาซีเยอรมนี 30,000
Italian mainland:
นาซีเยอรมนี 336,650–580,630
สาธารณรัฐสังคมอิตาลี 35,000 killed
Surrender of Caserta:
1,000,000 captured
Total:
1,500,000–1,750,000+ Casualties

Aircraft:
นาซีเยอรมนี4,500+ aircraft lost
~152,940 civilians dead

ได้มีการคาดการณ์ว่าระหว่างเดือนกันยายน ค.ศ. 1943 ถึง เดือนเมษายน ค.ศ. 1945 ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรราวประมาณ 60,000-70,000 นายและทหารเยอรมัน 38,805-150,660 นายเสียชีวิตในอิตาลี ความสูญเสียของฝ่ายสัมพันธมิตรโดยรวมในช่วงการทัพรวมทั้งสิ้นประมาณ 320,000 นาย และจำนวนของเยอรมันที่ตรงกัน (ไม่ได้รวมถึงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการยอมจำนนครั้งสุดท้าย) มีมากกว่า 330,000 นาย ฟาสซิสต์อิตาลีในช่วงก่อนการล่มสลาย ได้รับความสูญเสียราวประมาณ 200,000 นาย ส่วนใหญ่เป็นเชลยศึกที่ถูกจับกุมมาได้ในการบุกครองเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตร รวมถึงมากกว่า 40,000 นายล้วนถูกฆ่าตายหรือสูญหาย นอกจากนี้ พลเรือนอิตาลีได้เสียชีวิตกว่า 150,000 คน เช่นเดียวกับพลพรรคต่อต้านฟาสซิสต์ 35,828 คน และทหารบางส่วน 35,000 นายของสาธารณรัฐสังคมอิตาลี

ในด้านตะวันตก, ไม่มีความเสียหายในการทัพอื่นๆไปมากกว่าที่อิตาลีในแง่ของการเสียชีวิตหรือบาดเจ็บที่ได้รับโดยกองกำลังทหารราบของกองกำลังทั้งสองฝ่าย ในช่วงการสู้รบขนาดเล็กที่รุนแรงบริเวณรอบๆจุดที่แข็งแกร่งที่แนววินเทอร์, หัวหาดอานซิโอ และแนวกอทิก การทัพครั้งนี้ได้สิ้นสุดลงเมื่อกองทัพกลุ่มซีได้ยอมจำนนนโดยไม่มีเงื่อนไขกับฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 หนึ่งสัปดาห์ก่อนตราสารยอมจำนนของเยอรมันอย่างเป็นทางการ รัฐอิสระของซานมารีโนและวาติกัน ทั้งสองรัฐได้ล้อมรอบดินแดนอิตาลี ยังได้รับความเสียหายในช่วงการทัพครั้งนี้

หมายเหตุ

อ้างอิง


Tags:

การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรการบุกครองเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตรฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองราชอาณาจักรอิตาลีเขตสงครามเมดิเตอร์เรเนียนและตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่สองแวร์มัคท์

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 2023ไอยูสฤษดิ์ ธนะรัชต์จังหวัดจันทบุรีสหราชอาณาจักรจังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566โรนัลโดมหาวิทยาลัยกรุงเทพกัญญาวีร์ สองเมืองคริส โปตระนันทน์สุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)พรนับพัน พรเพ็ญพิพัฒน์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังปาเมลา ปาสิเนตตีกรภัทร์ เกิดพันธุ์พระยศเจ้านายไทยจตุพร พรหมพันธุ์อาทิตย์ ตั้งวิบูลย์พาณิชย์เฉลิม อยู่บำรุงสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลจังหวัดปทุมธานีจังหวัดอุดรธานีสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตียูฟ่าแชมเปียนส์ลีกสโมสรกีฬาฟุตบอลนาโปลีบาปเจ็ดประการอริยสัจ 4ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีแคพิบาราสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ญาดา เทพนมวอลเลย์บอลชิงแชมป์สโมสรเอเชียพงศ์พันธ์ ยอดเมืองเจริญสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกพินทองทา คุณากรวงศ์เจษฎ์พิพัฒ ติละพรพัฒน์อำพล ตั้งนพกุลบุนเดิสลีกาอัญชสา มงคลสมัยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยาศรัณย์ ศิริลักษณ์จังหวัดลพบุรีอิซานามิการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจFBบาร์เซโลนาสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒจังหวัดกาญจนบุรีภาษาไทยมิสแกรนด์แพร่ลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยประเทศเกาหลีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวโฟร์อีฟน้ำอสุจิสุรยุทธ์ จุลานนท์กันต์พิมุกต์ ภูวกุลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565ประยุทธ์ จันทร์โอชายิ่งลักษณ์ ชินวัตรอารยา เอ ฮาร์เก็ตสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)ชาลี ไตรรัตน์แปลก พิบูลสงครามพรรณิการ์ วานิชเหตุฆาตกรรมด้วยไซยาไนด์ พ.ศ. 2566รายชื่อพรรคการเมืองและผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2566วรันธร เปานิลช่อง 3 เอชดีประเทศเยอรมนีคมกฤษณ์ ดวงสุวรรณ์ธีรภัทร์ สัจจกุลราชวงศ์ชิงสามารถ แก้วมีชัย🡆 More