โรคออทิซึม

โรคออทิซึม (อังกฤษ: Autism) เป็นความผิดปกติในการเจริญของระบบประสาท โดยมีลักษณะเด่นคือความบกพร่องด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและการสื่อสาร และมีพฤติกรรมทำกิจกรรมบางอย่างซ้ำ ๆ ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้มักเรียกกันว่าผู้ป่วยออทิสติก อาการแสดงดังกล่าวมักปรากฏในวัยเด็กก่อนอายุ 3 ปี นอกจากนี้ยังมีความบกพร่องด้านสังคมและการสื่อสารที่จัดในกลุ่มใกล้เคียงโรคออทิซึม เรียกว่า Autism spectrum disorder (ASD) อาทิกลุ่มอาการแอสเพอร์เกอร์ (Asperger syndrome) ที่มีอาการและอาการแสดงน้อยกว่า

โรคออทิซึม
ภาพเด็กวางของซ้อนกัน
อาการชอบซ้อนของหรือเรียงของซ้ำไปซ้ำมามีความสัมพันธ์กับโรคออทิซึม
สาขาวิชาจิตเวช (จิตเวชเด็ก)
อาการความบกพร่องในการสื่อสารกับบุคคล ความสามารถทางการพูด อวัจนภาษา มีพฤติกรรมที่เกิดขึ้นซ้ำ
การตั้งต้น2 ขวบ
ระยะดำเนินโรคระยะยาว
สาเหตุพันธุกรรมและสังคม
วิธีวินิจฉัยBased on behavior and developmental history
โรคอื่นที่คล้ายกันReactive attachment disorder, intellectual disability, schizophrenia
การรักษาEarly speech and behavioral interventions
ความชุก24.8 ล้าน (2015)

โรคออทิซึมมีความเกี่ยวข้องกับพันธุกรรมอย่างมาก แม้ว่าการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะมีความซับซ้อนและยังไม่สามารถอธิบายกลุ่มอาการ ASD ได้จากปฏิสัมพันธ์หลายยีนหรือการกลายพันธุ์ ผู้ป่วยจำนวนน้อยพบว่ามีความเกี่ยวข้องกับสารก่อวิรูป (สารที่ก่อให้เกิดความผิดปกติแต่กำเนิด) บางแหล่งข้อมูลเสนอสาเหตุของโรคออทิซึมไว้หลากหลาย เช่น การให้วัคซีนในวัยเด็ก ซึ่งเป็นที่ถกเถียงกันในปัจจุบัน และสมมติฐานดังกล่าวยังขาดหลักฐานที่เชื่อถือได้ทางวิทยาศาสตร์ ความชุกของกลุ่มอาการ ASD เกิดราว 6 ใน 1,000 คน และเป็นในเด็กชายเป็น 4 เท่าของเด็กหญิง จำนวนผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคออทิซึมพบว่าเพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ทศวรรษที่ 1980 ทั้งนี้บางส่วนเนื่องจากการเปลี่ยนวิธีการวินิจฉัย แต่ความชุกแท้จริงเพิ่มขึ้นหรือไม่นั้นยังไม่เป็นที่ทราบ

ผู้ป่วยโรคออทิซึมมีความผิดปกติที่หลายส่วนของสมองซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุ ผู้ปกครองมักสังเกตอาการผู้ป่วยได้ในช่วงอายุ 2 ขวบปีแรก แม้ว่าการบำบัดด้วยพฤติกรรมและการรับรู้โดยนักกายภาพบำบัดและนักจิตวิทยาคลินิกตั้งแต่เยาว์วัยจะช่วยพัฒนาให้ผู้ป่วยดูแลตนเอง มีทักษะด้านสังคมและการสื่อสารได้ แต่การรักษาที่แท้จริงยังไม่เป็นที่ทราบ เด็กที่ป่วยด้วยโรคนี้น้อยรายที่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างอิสระหลังเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ แต่ก็มีบางส่วนที่ประสบความสำเร็จอย่างไรก็ตามพบว่าคนที่เป็นโรคออทิซึมได้รับการปฏิเสธจากสังคมอย่างมากจนเป็นสาเหตุของการใช้ความรุนแรงในการใช้อาวุธปืนฆ่าคนอื่น

สาเหตุ

เป็นที่เชื่อกันมานานว่ามีสาเหตุแรกเริ่มมาจากสาเหตุหนึ่งของอาการสำคัญทั้งสามอย่างของโรคออทิซึม โดยสาเหตุอาจเป็นในระดับพันธุกรรม ระดับสติปัญญา หรือระดับเซลล์ประสาท อย่างไรก็ดี ในภายหลังเริ่มเป็นที่สงสัยว่าโรคออทิซึมเป็นโรคที่สาเหตุซับซ้อน โดยอาการแต่ละด้านมีสาเหตุที่แตกต่างกันแต่เกิดและพบร่วมกันบ่อย เป็นต้น

โรคออทิซึมมีความสัมพันธ์กับพันธุกรรมเป็นอย่างมาก ถึงแม้พันธุศาสตร์ของโรคออทิซึมจะมีความซับซ้อน และยังไม่เป็นที่ชัดเจนว่าโรคเหล่านี้เกิดจากการกลายพันธุ์ตำแหน่งเดียวที่พบได้น้อย แล้วการกลายพันธุ์ตำแหน่งเดียวนี้ทำให้เกิดผลหลาย ๆ อย่างตามมา หรือ เกิดจากการกลายพันธุ์หลาย ๆ ที่ ที่แต่ละตัวมีโอกาสพบได้บ้าง แต่การเกิดพร้อม ๆ กันนั้นพบได้น้อย แล้วปฏิสัมพันธ์ระหว่างยีนหลาย ๆ ยีนนี้ทำให้เกิดอาการของโรค ความซับซ้อนนี้เกิดจากการที่ยีนแต่ละยีน ปัจจัยสิ่งแวดล้อม และการถ่ายทอดแบบอีพิเจเนติกส์ (ผลที่เกิดกับลักษณะแสดงออก ที่ถ่ายทอดได้ ที่ไม่ได้มาจากรหัสพันธุกรรม แต่มาจากปัจจัยอื่น ๆ ที่ควบคุมการแสดงออกของพันธุกรรม) ต่างมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อน การวิจัยด้วยการหาลำดับพันธุกรรมทั้งหมดของผู้ป่วยและญาติ ทำให้มีการค้นพบยีนหลาย ๆ ยีน ที่พบว่ามีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคออทิซึม แต่เพียงเท่านี้ยังไม่สามารถสรุปได้ว่ายีนเหล่านี้เป็นสาเหตุของการเกิดโรค

การวิจัยกับฝาแฝดได้ผลว่าโรคออทิซึมมีค่าดัชนีการถ่ายทอดอยู่ที่ 0.7 และสำหรับโรคอื่น ๆ ในกลุ่มโรคออทิซึมสเปกตรัมมีค่าดัชนีการถ่ายทอดสูงถึง 0.9 คนที่มีพี่น้องเป็นโรคออทิซึมมีโอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าคนทั่วไป 25 เท่า อย่างไรก็ดี ลักษณะการถ่ายทอดของพันธุกรรมโรคออทิซึมนี้ยังไม่เข้ากับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบยีนเดี่ยว (แบบเมนเดล) หรือเกิดจากความผิดปกติที่ตรวจได้ในระดับโครโมโซม แม้แต่โรคทางพันธุกรรมที่พบว่ามีความสัมพันธ์กับการเกิดออทิซึมสเปกตรัม ก็ยังไม่พบว่ามีโรคใดที่ทำให้เกิดโรคเหล่านี้ได้โดยจำเพาะ

โรคออทิซึมในประเทศไทย

ในประเทศไทย โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ ได้ร่วมมือ กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดการศึกษาแบบเรียนร่วมกับคนพิการหูหนวกในชั้นอนุบาลทีโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ต่อมา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ได้จัดการศึกษาแบบเรียนร่วมกับบุคคลที่ไม่ได้เป็นโรค ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2533 โดยรับนักเรียนที่จบชั้นอนุบาลมาจากโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ภายหลังที่มีบุคคลที่เป็นโรคออทิซึมเรียนจบ ได้เข้าศึกษาต่อที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางส่วน เรียน หลักสูตรบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เมื่อเรียนจบ ปรากฏว่าบุคคลที่เป็นโรคออทิซึมนั้น ตกงาน ส่งผลให้ โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ และ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา และ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ต้องจ้างเข้าทำงาน ปัจจุบันมีประมาณ 170 คนที่เรียนจบจากโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกำลังศึกษาอยู่กำลังศึกษาที่สาธิตเกษตร อาทิบุตรี ทนง พิทยะ บุตร อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ บุตรี แพทย์หญิง นลินี ไพบูลย์

โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ยังจัดให้มีโครงการฝึกอาชีพเป็นระยะเวลา 1 ปี เพื่อให้บุคคลออทิสติกได้มีโอากาสในการทำงานกับบริษัทต่าง ๆ แต่อัตราจ้างงานต่ำทั้งนี้ยังไม่มีผลสำรวจถึงการไล่ออกจากงานในกลุ่มคนที่เป็นออทิสติก หรือนายจ้างไม่พอใจผลการทำงานในคนกลุ่มนี้

ด้านชีวิตครอบครัวบุคคลที่เป็นโรคออทิซึมที่จบการศึกษาจาก โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา นั้น ไม่มีใครแต่งงานหรือสมรสแม้แต่รายเดียว บุคคลจากโครงการดังกล่าวไม่ได้รับการยอมรับจากเพศตรงข้าม และ ประสบความล้มเหลวโดยสิ้นเชิงในการหาคู่สมรสแม้ตนเองมาจากครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวย (ค่าเล่าเรียนตลอด 12 ปี ที่โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อย่างต่ำหนึ่งล้านสี่แสนสี่หมื่นบาทถ้วน หรือปีละหนึ่งแสนสองหมื่นบาท) ไม่นับรวมค่าไฟฟ้าค่าน้ำค่าหนังสือเรียน หากรวมทั้งหมดใช้ต่อคนคนล่ะมากกว่า 1,500,000 บาทถ้วน

นอกจากนั้นบุคคลจาก โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ที่เป็นโรคเสี่ยงต่อการถูกหลอกลวงทางทรัพย์สินจากคนรักของตนเอง รวมทั้งเสี่ยงต่อการถูกหลอกลวงทางทรัพย์สินจากเพื่อนที่ตนเองไว้ใจ เพื่อเป็นการป้องกันการหลอกลวงดังกล่าวผู้ปกครองบางราย อาทิ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จึงเลือกวิธีทางกฎหมายโดยฟ้องร้องต่อศาลเยาวชนและครอบครัวให้บุตรเป็นบุคคลเสมือนไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นการป้องกันไม่ให้บุตรจ่ายเงินให้กับคนรัก เพื่อนหรือแม้แต่คนที่ตนเองไว้ใจ ในจำนวนที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากกฎหมายได้ห้ามการให้โดยเสน่หา เว้นแต่การให้ตามฐานานุรูป

บุคคลที่ใช้วิธีนี้ นอกจาก อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ยังมีอีกหลายราย อาทิ ร้อยตำรวจโท (ยศขณะที่ฟ้องร้องลูกชาย) สมพงษ์ กัณหารีและ พลตรี นายแพทย์ รังษี ธีระศิลป์ นอกจากนั้นยังสามารถฟ้องร้องเพื่อนหรือคนรักของลูกที่กระทำการหลอกลวงให้จำคุกได้มากถึง 5 ปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทตามมาตรา 342 (2)ตามพระราชบัญญัตืประมวลกฎหมายอาญา

ด้านการหางานทำนั้นพบว่าส่วนใหญ่ประสบความล้มเหลวจนต้องให้สถานที่ที่บุคคลเหล่านั้นเคยได้รับการศึกษา หรือ ได้รับการรักษาพยาบาลเป็นคนจ้างเข้าทำงาน

ในประเทศไทยยังพบกรณีของการฆ่าลูกตัวเองที่ป่วยเป็นโรคออทิซึม พบกรณีพี่สาวพาแฟนพี่สาวมาข่มขืนรวมทั้งกรณีพ่อเลี้ยง น้าชายและเพื่อนบ้าน ข่มขืน การกลั่นแกล้งด้วยข่าวลืออันเป็นเท็จเพื่อจงใจใส่ร้ายป้ายสีบุคคลที่เป็นโรคออทิซึม แม้แต่การทำร้ายร่างกายอย่างเปิดเผยภายในโรงเรียนต่อมา ในวันที่ 29 มกราคม 2567 ที่โรงเรียนมัธยมนาคนาวาอุปถัมภ์ ได้เกิดเหตุฆาตกรรมเพื่อนภายในโรงเรียนโดยใช้อาวุธมีดแทงเข้าที่ลำคอถึงแก่ความตายโดยตอนแรกข่าวอ้างถึงเด็กที่เป็นโรคออทิซึม ซึ่งคาดว่าผู้ปกครองประสงค์จะใช้กฎหมายตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 65ในการลดหย่อนโทษ

พ่อแม่ที่มีลูกเป็นโรคออทิซึม มักถูกหลอกเพื่อให้เสียทรัพย์โดยการอ้างว่าสามารถรักษาหรือช่วยเหลือลูกตัวเองได้ การรักษาบางอย่าง เช่นการรักษาด้วย ไฮเปอร์แบริค (HBO) รักษาด้วยออกซิเจนบริสุทธิ์ 100% การฝังเข็ม ไม่เป็นที่พิสูจน์ ในขณะที่บุคคลที่เป็นโรคออทิซึม นั้นได้รับการกล่าวหาว่าเป็นอภิสิทธิ์ชนที่คนอื่นไม่สามารถว่าอะไรได้มากนักในกรณีทำผิดร้ายแรงเช่นขับรถชนคนเสียชีวิต เป็นบุคคลที่ไร้ความรับผิดชอบต่อสังคมหรือเป็นภาระต่อสังคม บุคคลที่เป็นโรคดังกล่าวมักได้รับคำพูดที่รุนแรง อาทิ เด็กปัญญาอ่อน คนโรคจิต บุคคลที่ไม่ควรเกิดมาบนโลกนี้ หรือ บุคคลที่ไม่สามารถมีเรื่องมีราวกับเขาได้ เพราะเขาเป็นโรคออทิซึม การไม่ไว้ใจให้ทำงานร่วมกัน แม้แต่การเหยียดหยามถึงบุพการีว่าไม่ควรเลี้ยงให้บุคคลกลุ่มนี้โตขึ้นมาเป็นภาระสังคม

เมื่อเป็นวัยรุ่นเด็กผู้ชายส่วนมากมักถูกยั่วยุจากเพื่อนให้มีเพศสัมพันธ์เพื่อนชวนไปเที่ยวในแหล่งซื้อขายบริการทางเพศส่งผลให้วัยรุ่นออทิซึมชายเป็นโรคเอดส์และซิฟิลิสจำนวนมาก วัยรุ่นออทิซึมหญิงมักถูกจับหน้าอกและอวัยวะเพศ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก

Tags:

โรคออทิซึม สาเหตุโรคออทิซึม ในประเทศไทยโรคออทิซึม อ้างอิงโรคออทิซึม แหล่งข้อมูลอื่นโรคออทิซึมAutism spectrum disorderกลุ่มอาการแอสเพอร์เกอร์การสื่อสารภาษาอังกฤษระบบประสาท

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

รายชื่อละครโทรทัศน์ทางช่อง 7HDจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดของประเทศไทยประเทศเนเธอร์แลนด์จัน ดารา (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีสุทธิรักษ์ ทรัพย์วิจิตรมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์แจ๊ส ชวนชื่นจังหวัดนนทบุรีลภัสลัล จิรเวชสุนทรกุลรัตนวดี วงศ์ทองขันธ์ภรภัทร ศรีขจรเดชาจนกว่าจะได้รักกันน้ำอสุจิศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีข้าราชการส่วนท้องถิ่น.comจังหวัดนครราชสีมาพัก มิน-ย็องฟุตซอลชิงแชมป์เอเชียเดคลัน ไรซ์ประวัติศาสตร์ไทยโบรูโตะดวงจันทร์เมียวดีประเทศรัสเซียจังหวัดอุบลราชธานีเกศริน ชัยเฉลิมพลพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวมรรคมีองค์แปดญีนา ซาลาสเหี้ยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจักรราศีรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยการ์ลัส ปุดจ์ดาโมนหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชสโมสรฟุตบอลคอเวนทรีซิตีการรถไฟแห่งประเทศไทยวอลเลย์บอลสโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลาสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวรหญิงรักร่วมเพศคุณอาเรียโต๊ะข้างๆ พูดรัสเซียหวานใส่ซะหัวใจจะวายติ๊กต็อกเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024ประเทศเกาหลีใต้เอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปีนินจาคาถาโอ้โฮเฮะยอดนักสืบจิ๋วโคนันฉบับภาพยนตร์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวFแวมไพร์ ทไวไลท์บิลลี ไอลิชส้มฉุนมหาวิทยาลัยรังสิตรายชื่อนามสกุลที่ใช้กันมากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์นิภาภรณ์ ฐิติธนการสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)เร็ว..แรงทะลุนรก 10ราชวงศ์ในประวัติศาสตร์จีนพีรวัส แสงโพธิรัตน์สมเด็จพระนารายณ์มหาราชนิชคุณ ขจรบริรักษ์บรรดาศักดิ์ไทย🡆 More