สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช

จังหวัดนครศรีธรรมราช มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 10 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ.

2566) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 10 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครศรีธรรมราชมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ร้อยตรี มงคล รัตนวิจิตร

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอฉวาง และอำเภอทุ่งสง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์ และอำเภอหัวไทร
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา และอำเภอสิชล
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งสง และอำเภอร่อนพิบูลย์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนังและอำเภอหัวไทร
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/1 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 6 คน (เขตละ 6 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอลานสกา, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพรหมคีรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่ และกิ่งอำเภอพิปูน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอลานสกา, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพรหมคีรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, กิ่งอำเภอพิปูน และกิ่งอำเภอนาบอน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอลานสกา, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพรหมคีรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน และกิ่งอำเภอนาบอน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน และอำเภอนาบอน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน และกิ่งอำเภอบางชัน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน, กิ่งอำเภอบางขัน และกิ่งอำเภอถ้ำพรรณรา
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน, อำเภอบางขัน และกิ่งอำเภอถ้ำพรรณรา
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพระพรหม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่, อำเภอชะอวด และอำเภอจุฬาภรณ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอบางขัน และกิ่งอำเภอถ้ำพรรณรา
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน และกิ่งอำเภอนบพิตำ
10 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 และเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพระพรหม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่, อำเภอชะอวด และอำเภอจุฬาภรณ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอบางขัน และอำเภอถ้ำพรรณรา
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน, กิ่งอำเภอนบพิตำ และกิ่งอำเภอช้างกลาง
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช (เฉพาะตำบลท่าวัง ตำบลคลัง ตำบลในเมือง ตำบลโพธิ์เสด็จ และตำบลปากพูน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพรหมคีรี, อำเภอท่าศาลา (เฉพาะตำบลดอนตะโก ตำบลท่าศาลา ตำบลโพธิ์ทอง ตำบลโมคลาน และตำบลหัวตะพาน), อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช (เฉพาะตำบลท่างิ้ว ตำบลนาทราย และตำบลนาเคียน) และกิ่งอำเภอนบพิตำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพระพรหม, อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช (เฉพาะตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก ตำบลท่าไร่ ตำบลท่าซัก ตำบลมะม่วงสองต้น ตำบลไชยมนตรี ตำบลปากนคร และตำบลกำแพงเซา) และอำเภอปากพนัง (เฉพาะตำบลคลองน้อย ตำบลคลองกระบือ และตำบลบ้านใหม่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอขนอม, อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา (เฉพาะตำบลกลาย ตำบลตลิ่งชัน ตำบลสระแก้ว ตำบลท่าขึ้น และตำบลไทยบุรี)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพิปูน, อำเภอลานสกา, อำเภอฉวาง (ยกเว้นตำบลฉวางและตำบลนากะชะ) และกิ่งอำเภอช้างกลาง
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอบางขัน, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอนาบอน, อำเภอถ้ำพรรณรา และอำเภอฉวาง (เฉพาะตำบลฉวางและตำบลนากะซะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอทุ่งสง
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอจุฬาภรณ์, อำเภอร่อนพิบูลย์ และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอชะอวด, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอปากพนัง (เฉพาะตำบลชะเมา ตำบลป่าระกำ และตำบลเกาะทวด)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอหัวไทรและอำเภอปากพนัง (ยกเว้นตำบลชะเมา ตำบลป่าระกำ ตำบลเกาะทวด ตำบลคลองน้อย ตำบลคลองกระบือ และตำบลบ้านใหม่)
10 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอพระพรหม, อำเภอจุฬาภรณ์, อำเภอร่อนพิบูลย์ และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทุ่งสง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอบางขัน, อำเภอฉวาง, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน, อำเภอลานสกา, อำเภอถ้ำพรรณรา และกิ่งอำเภอช้างกลาง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนัง, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอท่าศาลา, อำเภอขนอม, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอสิชล และอำเภอนบพิตำ
10 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 และเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลท่าวัง ตำบลคลัง ตำบลโพธิ์เสด็จ ตำบลนาเคียน ตำบลกำแพงเซา ตำบลนาทราย ตำบลท่าซัก ตำบลปากนคร และตำบลท่าไร่ (ในเขตเทศบาลตำบลปากนคร)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพระพรหม, อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลไชยมนตรี ตำบลมะม่วงสองต้น ตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก และตำบลท่าไร่ (นอกเขตเทศบาลตำบลปากนคร)] และอำเภอปากพนัง [ยกเว้นตำบลบางตะพง ตำบลบางศาลา ตำบลปากแพรก ตำบลขนาบนาก ตำบลท่าพยา ตำบลบ้านเพิง และตำบลบางพระ (นอกเขตเทศบาลเมืองปากพนัง)]
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอเชียรใหญ่, อำเภอหัวไทร และอำเภอปากพนัง [เฉพาะตำบลบางตะพง ตำบลบางศาลา ตำบลปากแพรก ตำบลขนาบนาก ตำบลท่าพยา ตำบลบ้านเพิง และตำบลบางพระ (นอกเขตเทศบาลเมืองปากพนัง)]
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอชะอวด, อำเภอจุฬาภรณ์ และอำเภอร่อนพิบูลย์ (ยกเว้นตำบลหินตกและตำบลเสาธง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอทุ่งสงและอำเภอนาบอน (ยกเว้นตำบลทุ่งสง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอบางขัน, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอถ้ำพรรณรา, อำเภอฉวาง (เฉพาะตำบลฉวาง ตำบลไม้เรียง ตำบลกะเปียด และตำบลนากะชะ) และอำเภอนาบอน (เฉพาะตำบลทุ่งสง)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอพิปูน, อำเภอช้างกลาง, อำเภอลานสกา, อำเภอร่อนพิบูลย์ (เฉพาะตำบลหินตกและตำบลเสาธง) และอำเภอฉวาง (ยกเว้นตำบลฉวาง ตำบลไม้เรียง ตำบลกะเปียด และตำบลนากะชะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอพรหมคีรี, อำเภอนบพิตำ, อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช (เฉพาะตำบลท่างิ้วและตำบลปากพูน) และอำเภอท่าศาลา (เฉพาะตำบลท่าศาลา ตำบลดอนตะโก ตำบลโมคลาน และตำบลโพธิ์ทอง)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอขนอม, อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา (ยกเว้นตำบลท่าศาลา ตำบลดอนตะโก ตำบลโมคลาน และตำบลโพธิ์ทอง)
9 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลคลัง ตำบลท่าวัง ตำบลท่าซัก ตำบลปากนคร ตำบลท่าไร่ ตำบลบางจาก ตำบลท่าเรือ ตำบลในเมือง ตำบลมะม่วงสองต้น ตำบลไชยมนตรี ตำบลโพธิ์เสด็จ และตำบลนาเคียน (ในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปากพนัง, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอหัวไทร
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพระพรหม, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, อำเภอชะอวด และอำเภอจุฬาภรณ์
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอทุ่งสงและอำเภอบางขัน
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอถ้ำพรรณรา, อำเภอฉวาง และอำเภอพิปูน
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอลานสกา, อำเภอช้างกลาง และอำเภอนาบอน
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอท่าศาลาและอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลปากพูน ตำบลท่างิ้ว ตำบลกำแพงเซา ตำบลนาทราย และตำบลนาเคียน (นอกเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช)]
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอสิชล, อำเภอขนอม, อำเภอนบพิตำ และอำเภอพรหมคีรี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช  8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลท่าเรือ ตำบลบางจาก ตำบลท่าไร่ ตำบลปากนคร ตำบลในเมือง ตำบลคลัง ตำบลท่าวัง ตำบลนาเคียน (ในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช) และตำบลโพธิ์เสด็จ (ในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพระพรหมและอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะตำบลมะม่วงสองต้น ตำบลไชยมนตรี ตำบลกำแพงเซา ตำบลท่างิ้ว ตำบลนาทราย ตำบลปากพูน ตำบลท่าซัก ตำบลนาเคียน (นอกเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช) และตำบลโพธิ์เสด็จ (นอกเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช)]
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปากพนังและอำเภอหัวไทร
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเชียรใหญ่, อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอำเภอชะอวด
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอจุฬาภรณ์, อำเภอร่อนพิบูลย์ และอำเภอลานสกา
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอทุ่งสง (ยกเว้นตำบลเขาขาว)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอถ้ำพรรณรา, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอบางขัน และอำเภอทุ่งสง (เฉพาะตำบลเขาขาว)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอนาบอน, อำเภอช้างกลาง, อำเภอฉวาง และอำเภอพิปูน
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอนบพิตำ, อำเภอพรหมคีรี และอำเภอท่าศาลา (ยกเว้นตำบลกลาย ตำบลตลิ่งชัน ตำบลสระแก้ว และตำบลท่าขึ้น)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอขนอม, อำเภอสิชล และอำเภอท่าศาลา (เฉพาะตำบลกลาย ตำบลตลิ่งชัน ตำบลสระแก้ว และตำบลท่าขึ้น)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช  10 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476
ร้อยตรี มงคล รัตนวิจิตร

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายฉ่ำ จำรัสเนตร ร้อยตรี มงคล รัตนวิจิตร นายไสว สุทธิพิทักษ์
2 ขุนบุรณวาท (พร้อย ณ นคร) นายเปี่ยม บุณยะโชติ นายคล่อง ไตรสุวรรณ ขุนประสงค์สุขการี (สมบุญ ลาภเจริญ)
3 นายพินทุ พฤกษศรี

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายภักดี พัฒนภักดี
นายฉ่ำ จำรัสเนตร
เลือกตั้งเพิ่มเติม พ.ศ. 2492 นายเปี่ยม บุณยะโชติ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 นายน้อม อุปรมัย
2 พันโท ทอง ศิริเวชพันธ์
3 นายปลื้ม กมุกมะกุล

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายฉ่ำ จำรัสเนตร นายฉ่ำ จำรัสเนตร
นายไสว สวัสดิสาร
นายเปี่ยม บุณยะโชติ นายปรีดา ด่านตระกูล
นายน้อม อุปรมัย นายน้อม อุปรมัย

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 พลตำรวจตรี ขุนพันธรักษ์ราชเดช
2 นายชอบ ภารา
3 นายแนบ ผ่องแผ้ว
4 นายสุรินทร์ มาศดิตถ์
5 นายมนัส สุวรรณรัตน์
6 นายน้อม อุปรมัย

ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522

เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายสุรินทร์ มาศดิตถ์ นางสาวสุพัตรา มาศดิตถ์
นายโสภณ วัชรสินธุ์ นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
2 ร้อยตำรวจโท ระบิล นานากุล นายเพิ่มศักดิ์ จริตงาม นายเอื้อม อุบลพันธุ์
นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ นายเกษม เจริญพานิช นายนิวัตร จินตวร
นายอาคม สุวรรณนพ นายภักดี กุลบุญ นายนิยม คำแหง
3 นายมนัส สุวรรณรัตน์ นายณรงค์ นุ่นทอง นายคล่อง รักษ์ทอง
นายเสริม มุสิกวัตร นายธงชาติ รัตนวิชา นายจรัส โพธิ์ศิริ

ชุดที่ 14–18; พ.ศ. 2526–2535

เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
1 นางสาวสุพัตรา มาศดิตถ์ นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ
นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
นายมาโนชญ์ วิชัยกุล นายเดชา สามารถ นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
2 นายถวิล ไพรสณฑ์ นางสุพัตรา มาศดิตถ์ คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
นายบุญส่ง ชำนาญกิจ นายนิยม คำแหง นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
นายวัน ศรีเปารยะ นางสุพัตรา มาศดิตถ์ พลเอก หาญ ลีนานนท์ นายตรีพล เจาะจิตต์
3 นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
นายณรงค์ นุ่นทอง นายสุธรรม แสงประทุม นายณรงค์ นุ่นทอง นายสุธรรม แสงประทุม
นายธงชาติ รัตนวิชา นายวิทยา แก้วภราดัย นายอภิชาต การิกาญจน์ นายวิทยา แก้วภราดัย

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ
นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
2 นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
นายวิทยา แก้วภราดัย
นายอภิชาต การิกาญจน์
3 นายตรีพล เจาะจิตต์
คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์
4 นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นางฮูวัยดีย๊ะ พิศสุวรรณ อุเซ็ง นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ
2 นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
3 นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์
4 นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
5 นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
6 นายตรีพล เจาะจิตต์ นายเทพไท เสนพงศ์
7 นายประกอบ รัตนพันธ์
8 นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ นายอภิชาต ศักดิเศรษฐ์
9 นายอภิชาต การิกาญจน์
10 นายวิทยา แก้วภราดัย

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์
นายอภิชาต ศักดิเศรษฐ์
นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
2 นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
นายเทพไท เสนพงศ์
นายประกอบ รัตนพันธ์
3 นายวิทยา แก้วภราดัย
นายอภิชาต การิกาญจน์
4 นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายอภิชาต ศักดิเศรษฐ์ นายรงค์ บุญสวยขวัญ
2 นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์ นายสัณหพจน์ สุขศรีเมือง
3 นายวิทยา แก้วภราดัย
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายเทพไท เสนพงศ์
(พ้นสภาพเนื่องจากถูกพิพากษาจำคุกระหว่างการดำรงตำแหน่ง)
นายอาญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ
(แทนนายเทพไท)
4 นายอภิชาต การิกาญจน์ นายประกอบ รัตนพันธ์
5 นายประกอบ รัตนพันธ์ นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
6 นายเทพไท เสนพงศ์ นายชัยชนะ เดชเดโช
7 นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ นายสายัณห์ ยุติธรรม
8 นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
9 นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล ยุบเขต 9

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายราชิต สุดพุ่ม
2 นายทรงศักดิ์ มุสิกอง
3 นายพิทักษ์เดช เดชเดโช
4 ว่าที่ร้อยโท ยุทธการ รัตนมาศ
5 นายชัยชนะ เดชเดโช
6 นายสุธรรม จริตงาม
7 นายษฐา ขาวขำ
8 นางมุกดาวรรณ เลื่องสีนิล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 
รอคำสั่งเลือกตั้งซ่อม
9 นางอวยพรศรี เชาวลิต
10 นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล

รูปภาพ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Tags:

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ประวัติศาสตร์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช รูปภาพสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช อ้างอิงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช แหล่งข้อมูลอื่นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราชสภาผู้แทนราษฎรไทย

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวภาคตะวันตก (ประเทศไทย)ฟุตบอลโลก 2014โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ICD-10บริษัทจังหวัดตากดราก้อนบอลภาษาญี่ปุ่นสุจาริณี วิวัชรวงศ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยรายชื่อตัวละครในเกิดใหม่ทั้งทีก็เป็นสไลม์ไปซะแล้วฟุตบอลโลก 2018สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลจังหวัดฉะเชิงเทราอิทธิบาท 4ธิษะณา ชุณหะวัณฟุตซอลฟุตบอลทีมชาติเวียดนามฮวัง ฮี-ชันวชิรวิชญ์ ชีวอารียูฟ่าแชมเปียนส์ลีกอัลกุรอานกรีฑาสถานแห่งชาติ (ไทย)รายชื่อตอนในวันพีซ (อนิเมะ)กวนอิมขุนณรงค์ ประเทศรัตน์ลั่นทมภัทรเดช สงวนความดีฟุตบอลโลก 2026 รอบคัดเลือกมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อีสเตอร์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวปริญ สุภารัตน์ประเทศเวียดนามยืนยง โอภากุลยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2020–21นนท์ อัลภาชน์กีลียาน อึมบาเปธีราทร บุญมาทันรายชื่อตัวละครในยอดนักสืบจิ๋วโคนันเฮลล์คิทเช่นไทยแลนด์อู๋ เหล่ย์ (นักแสดง)โชกุนเทย์เลอร์ สวิฟต์สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วงจังหวัดนครสวรรค์สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานครสุภโชค สารชาติพฤษภาคมประเทศอิหร่านแคเธอริน เจ้าหญิงแห่งเวลส์ประเทศแคนาดาสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรวัชระ พรรณเชษฐ์จังหวัดเลยทาสสุดแกร่งแห่งหน่วยป้องกันอสูรกวินทร์ ธรรมสัจจานันท์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยสโมสรฟุตบอลบีจี ปทุม ยูไนเต็ดวัชรเรศร วิวัชรวงศ์ปฏิจจสมุปบาทรินรดา แก้วบัวสายสารัช อยู่เย็นไกรศักดิ์ ชุณหะวัณณรัชต์ เศวตนันทน์รายชื่อตอนในเป็นต่อประเทศมัลดีฟส์พระไตรปิฎกรายชื่อนักฟุตบอลทีมชาติไทยรายชื่อเครื่องดนตรีประเทศอินเดียFIFA World Cupสวิตเซอร์แลนด์🡆 More