สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย (อังกฤษ: War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ.

2544 ต่อสหรัฐ การทัพครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อกำจัดอัลกออิดะห์และองค์การก่อการร้ายอื่นๆ สหราชอาณาจักร ประเทศสมาชิกเนโทอื่นๆ และประเทศนอกกลุ่มเนโทเข้าร่วมในความขัดแย้งนี้ด้วยเช่นกัน

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายบน: หลังจากวินาศกรรม 11 กันยายน ทหารราบชาวอเมริกันในอัฟกานิสถาน; ทหารอเมริกันและล่ามชาวอัฟกานิสถานในจังหวัดซาโบล ประเทศอัฟกานิสถาน การระเบิดของระเบิดรถยนต์อิรักในกรุงแบกแดด
วันที่7 ตุลาคม พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน
สถานที่
ทั่วโลก (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตะวันออกกลาง บางส่วนของทวีปเอเชียและแอฟริกา ยุโรปและอเมริกาเหนือ)
ผล

สงครามในอัฟกานิสถาน (2544-2564)

  • รัฐบาลฏอลิบานในอัฟกานิสถานล่ม
  • การทำลายค่ายอัลกออิดะฮ์
  • การก่อการกำเริบฏอลิบาน
  • สงครามในปากีสถานเหนือ–ตะวันตก
  • การฆ่าอุซามะฮ์ บิน ลาดิน
  • การเสียชีวิตของมุฮัมมัด อุมัร
  • การปิด ISAF: การก่อการกำเริบยังดำเนินอยู่
    • นาโต้เริ่มปฏิบัติการรีโซลูตซัพพอร์ต
    • การถ่ายโอนบทบาทสู้รบในกองทัพอัฟกานิสถาน

ความไม่สงบในเยเมน (2541–2558):

  • การก่อการกำเริบยกระดับเป็นสงครามกลางเมือง

สงครามอิรัก (2546–2554):

  • รัฐบาลพรรคบะอษ์ในอิรักถูกโค่น
  • การประหารชีวิตซัดดัม ฮุสเซน
  • มีการเลือกตั้งเสรี
  • การก่อการกำเริบในอิรัก (พ.ศ. 2554–2557)
  • สงครามกลางเมืองกำลังดำเนินอยู่

สงครามทางตะวันตกเฉียงเหนือของปากีสถาน (2547–ปัจจุบัน):

  • การก่อการกำเริบกำลังดำเนินอยู่
  • พื้นที่ชนพื้นเมืองที่ส่วนกลางบริหาร (FATA) ส่วนใหญ่อยู่ใต้การควบคุมของฏอลิบาน

การทัพระหว่างประเทศต่อไอซิส (2557–ปัจจุบัน):

  • การก่อการกำเริบกำลังดำเนินอยู่
  • ความพยายามมนุษยธรรมระหว่างประเทศ
  • การติดอาวุธและสนับสนุนกำลังภาคพื้นดินท้องถิ่น

อื่น ๆ:

  • โออีเอฟ จะงอยแอฟริกา
  • โออีเอฟ ฟิลิปปินส์
  • โออีเอฟ ทรานส์สะฮารา
  • โออีเอฟ แคริบเบียนและอเมริกากลาง
คู่สงคราม

ประเทศกลุ่มเนโท
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย เนโท

ประเทศนอกกลุ่มเนโท:


ภารกิจนานาชาติ:

เป้าหมายหลัก:

เป้าหมายอื่น
เป้าหมายในอดีต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย จอร์จ ดับเบิลยู. บุช (U.S President 2001–2009)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย บารัค โอบามา (U.S President 2009–2017)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ดอนัลด์ ทรัมป์ (U.S President 2017–2021)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย โจ ไบเดิน (U.S President 2021–Present)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย โทนี แบลร์ (Prime Minister of the U.K 1997–2007)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย กอร์ดอน บราวน์ (Prime Minister of the U.K 2007–2010)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย เดวิด แคเมอรอน (Prime Minister of the U.K 2010–2016) สงครามต่อต้านการก่อการร้าย เทรีซา เมย์ (Prime Minister of the U.K 2016–2019)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย บอริส จอห์นสัน (Prime Minister of the U.K 2019–2022)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ลิซ ทรัสส์ (Prime Minister of the U.K 2022–25 ตุลาคม 2022)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ริชี ซูแน็ก (Prime Minister of the U.K 25 ตุลาคม 2022—Present
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ฌัก ชีรัก (President 1995–2007)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย นีกอลา ซาร์กอซี (President 2007–2012)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ฟร็องซัว ออล็องด์ (President 2012 – 2017)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย แอมานุแอล มาครง (President 2017 – Present)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย เปอร์เวซ มูชาร์ราฟ
(President 1999–2008)

สงครามต่อต้านการก่อการร้ายGeneral Raheel Sharif (Chief of Army Staff 2013 – present)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย จอห์น โฮเวิร์ด (Prime Minister 1996–2007)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย เจียง เจ๋อหมิน (President 1993–2003)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย หู จิ่นเทา (President 2003–2013)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย สี จิ้นผิง (President 2013–Present)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Aleksander Kwaśniewski (President 1995–2005)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย เรเจป ไตยิป แอร์โดอัน (Prime Minister 2003–2014)

เลบานอน General Jean Kahwaji (Commander-in-Chief of the Lebanese Armed Forces)

อัลกออิดะฮ์

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย อุซามะห์ บิน ลาดิน 
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย อัยมัน อัซเซาะวาฮิรี
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย นาสเซอร์ อัล-วูฮาย์ชี
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย อันวาร์ อัลอะลากี 
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abu Musab Abdel Wadoud
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย อาซิม อูมาร์
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Ahmed Abdi Godane 
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย อะห์มัด อูมาร์
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abu Mohammad al-Julani
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Muhsin al-Fadhli
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abu Musab al-Zarqawi 
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abu Ayyub al-Masri 

รัฐอิสลามอิรักและเลแวนต์

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย อะบู บักร์ อัลบัฆดาดี
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abu Mohammad al-Adnani (Spokesperson)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abu Ayman al-Iraqi
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abu Abdulrahman al-Bilawi 
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abu Muslim al-Turkmani 
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abu Ali al-Anbari
Mohammed Abdullah
Salah Benali 
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abu Nabil Al Iraqi (ISIL commander of North Africa)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Ali Al Qarqaa (ISIL Emir of Nofaliya)
Hafiz Saeed Khan (Emir of Pakistan and Afghanistan)
Mullah Abdul Rauf (Deputy Emir in Afghanistan) 
Gouri Abdelmalek 
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Shadi el-Manaei
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abu Omar al-Shishani (Field commander in Syria)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Haji Bakr 
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abubakar Shekau

ตอลิบาน

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย มุฮัมมัด อุมัร
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Abdul Ghani Baradar (เชลย)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Obaidullah Akhund 
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Mohammad Fazl
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Dadullah Akhund 

เตห์ริก-ไอ-ตอลิบาน

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย มัวลานา ฟาสลูลลาห์
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Hakimullah Mehsud 
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Baitullah Mehsud 

เครือข่ายฮักกอนี

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย จาลาลุดดีน ฮักกอนี

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย Sirajuddin Haqqani
ความสูญเสีย
1,350,000 - 2,000,000+ โดยรวมถูกฆ่าตาย

คำว่า "สงครามต่อต้านการก่อการร้าย" นี้ ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช แห่งสหรัฐใช้เป็นคนแรกเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2544 รัฐบาลบุชและสื่อตะวันตกได้ใช้คำดังกล่าวหมายถึงการต่อสู้ทางทหาร การเมือง ชอบด้วยกฎหมายและเชิงความคิดทั่วโลก โดยมุ่งเป้าทั้งองค์การที่ถูกระบุว่าเป็นผู้ก่อการร้ายและรัฐบาลที่ถูกกล่าวหาว่าสนับสนุนการก่อการร้าย

เหตุการณ์ก่อนวินาศกรรม 11 กันยายน

จุดกำเนิดของอัลกออิดะห์ในฐานะเครือข่ายที่ปลุกปั่นการก่อการร้ายทั่วโลกและฝึกผู้ปฏิบัติการสามารถสืบย้อนไปได้ถึงสงครามในอัฟกานิสถานของโซเวียต (ธันวาคม 2522 – กุมภาพันธ์ 2532) สหรัฐสนับสนุนกองโจรมุญาฮิดีนอิสลามต่อกองทัพสหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน ในเดือนพฤษภาคม 2539 กลุ่มแนวร่วมอิสลามโลกเพื่อญิฮาดต่อต้านยิวและครูเสด (WIFJAJC) ที่ได้รับการสนับสนุนโดยอุซามะฮ์ บิน ลาดิน และภายหลังปฏิรูปเป็นอัลกออิดะห์ เริ่มต้นตั้งฐานปฏิบัติการขนาดใหญ่ในอัฟกานิสถาน ซึ่งรัฐบาลฏอลิบานที่เป็นอิสลามสุดโต่งเถลิงอำนาจในปีเดียวกันนั้น ในเดือนกุมภาพันธ์ 2542 อุซามะฮ์ บิน ลาดินลงนามในฟัตวาห์ในฐานะผู้นำอัลกออิดะห์ ประกาศสงครามต่อชาติตะวันตกและอิสราเอล ต่อมา ในเดือนพฤษภาคมปีเดียวกัน อัลกออิดะห์เผยแพร่วิดีทัศน์ประกาศสงครามต่อสหรัฐและชาติตะวันตก

หลังเหตุระเบิดสถานทูตสหรัฐในเคนยาและแทนซาเนีย ประธานาธิบดีบิล คลินตันแห่งสหรัฐเปิดฉากปฏิบัติการอินฟินิทรีช (Operation Infinite Reach) การทัพทิ้งระเบิดในซูดานและอัฟกานิสถานต่อเป้าหมายที่สหรัฐยืนยันว่าเกี่ยวข้องกับ WIFJAJC แต่ประเทศอื่นตั้งคำถามว่า โรงงานผลิตยาในซูดานถูกใช้เป็นโรงงานการสงครามเคมีหรือไม่ โรงงานดังกล่าวผลิตยาต้านมาลาเรียในภูมิภาคเป็นจำนวนมาก และราว 50% ของความต้องการยาในซูดาน การโจมตีดังกล่าวไม่สามารถสังหารผู้นำ WIFJAJC หรือฏอลิบานได้แม้แต่คนเดียว

ต่อมาเป็นแผนลับโจมตีสหัสวรรษ พ.ศ. 2543 ซึ่งรวมความพยายามวางระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส ในเดือนตุลาคม 2543 เกิดเหตุวางระเบิดยูเอสเอส โคล ตามด้วยวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544

  การริเริ่มต่อต้านการก่อการร้ายทรานส์สะฮารา
  การเริ่มกำลังทหารที่สำคัญ (อัฟกานิสถาน • ปากีสถาน • อิรักโซมาเลีย • เยเมน)
  พันธมิตรอื่นซึ่งเกี่ยวข้องในปฏิบัติการหลัก
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย  พื้นที่สำคัญที่ถูกโจมตีโดยอัลกออิดะฮ์และกลุ่มที่เข้าร่วม: 1. เหตุระเบิดสถานทูตสหรัฐ พ.ศ. 2541 • 2. วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 • 3. เหตุระเบิดในบาหลี พ.ศ. 2545 • 4. เหตุระเบิดระบบรถไฟกรุงมาดริด พ.ศ. 2547 • 5. เหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548 • 6. เหตุโจมตีในมุมไบ พ.ศ. 2551

ข้อความ

อ้างอิง

แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม

แหล่งข้อมูลอื่น

    แหล่งข่าวอย่างเป็นทางการของรัฐบาลหรือองค์การนานาชาติ
    ข่าวทั่วไป
    เอกสารทางกฎหมายชั้นต้น
    บทความที่เจาะจง
    อื่น ๆ
    วิดีโอ
    เหตุการณ์ปัจจุบัน

This article uses material from the Wikipedia ไทย article สงครามต่อต้านการก่อการร้าย, which is released under the Creative Commons Attribution-ShareAlike 3.0 license ("CC BY-SA 3.0"); additional terms may apply (view authors). เนื้อหาอนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้ CC BY-SA 4.0 เว้นแต่ระบุไว้เป็นอื่น Images, videos and audio are available under their respective licenses.
®Wikipedia is a registered trademark of the Wiki Foundation, Inc. Wiki ไทย (DUHOCTRUNGQUOC.VN) is an independent company and has no affiliation with Wiki Foundation.

Tags:

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย เหตุการณ์ก่อนวินาศกรรม 11 กันยายนสงครามต่อต้านการก่อการร้าย ข้อความสงครามต่อต้านการก่อการร้าย อ้างอิงสงครามต่อต้านการก่อการร้าย แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติมสงครามต่อต้านการก่อการร้าย แหล่งข้อมูลอื่นสงครามต่อต้านการก่อการร้ายการทัพภาษาอังกฤษวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544อัลกออิดะห์

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

แซ็สก์ ฟาบรากัสเจนี่ อัลภาชน์จังหวัดสกลนครธิษะณา ชุณหะวัณโทกูงาวะ อิเอยาซุปิยวดี มาลีนนท์ประเทศเกาหลีเหนือสติปัฏฐาน 4กองทัพบกไทยวิทยุเสียงอเมริกาพระมหากษัตริย์ไทยคริสเตียโน โรนัลโดธนิน มนูญศิลป์วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024จังหวัดกาญจนบุรีเอาท์ไซเดอร์พระคเณศสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดอาณาจักรสุโขทัยหอแต๋วแตก (ภาพยนตร์ชุด)รายชื่อธนาคารในประเทศไทยจังหวัดมหาสารคามอาณาจักรล้านนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โรงพยาบาลในประเทศไทยประยุทธ์ จันทร์โอชาพรรษา เหมวิบูลย์พาทิศ พิสิฐกุลยอดนักสืบจิ๋วโคนันฉบับภาพยนตร์อสมทประเทศอิตาลีพระลักษมีการฆ่าตัวตายเปรม ติณสูลานนท์กวนอิมโทโยโตมิ ฮิเดโยชิเศรษฐา ทวีสินรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดอีสเตอร์ออลเทอร์นาทิฟร็อกเจริญศักดิ์ วงษ์กรณ์สัปเหร่อ (ภาพยนตร์)สำราญ นวลมาจังหวัดกาฬสินธุ์พระถังซัมจั๋งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามขนาดพื้นที่เฟซบุ๊กสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรยศทหารและตำรวจไทยอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)เอาด์-เฮเฟอร์เลเลอเฟินพรหมลิขิตรายชื่อตัวละครในกังฟูแพนด้านางนากศรีรัศมิ์ สุวะดีกองบัญชาการตำรวจนครบาลภัทรเดช สงวนความดีพงษ์ธวัช เฉลิมกิตติชัยบัญญัติ 10 ประการนวลพรรณ ล่ำซำรายชื่อละครโทรทัศน์ทางช่องวัน 31ณัฐวรรธน์ จิโรชน์ธิกุลราศรี บาเล็นซิเอก้า จิราธิวัฒน์เหี้ยจังหวัดพระนครศรีอยุธยาแอทลาสภูมิธรรม เวชยชัยโรงเรียนสตรีวิทยาเอซี มิลานชญานิศ จ่ายเจริญพรีเมียร์ลีกวรกมล ชาเตอร์สล็อตแมชชีนอัลกุรอาน🡆 More