ประเทศอินเดีย วันเอกราช

วันประกาศเอกราชของอินเดีย เฉลิมฉลองทุกวันที่ 15 สิงหาคม และถือเป็นวันหยุดในประเทศอินเดีย เพื่อรำลึกถึงการประกาศเอกราชของประเทศจากการปกครองของสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 1947 เมื่อรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรประกาศ พระราชบัญญัติเอกราชอินเดีย ค.ศ.

1947 ส่งผ่านเอกราชของรัฐสู่สภานิติบัญญัติแห่งชาติอินเดีย โดยคงมีพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นประมุขแห่งรัฐจนถึงการเปลี่ยนสู่ระบบสาธารณรัฐเต็มตัว การได้มาซึ่งเอกราชของอินเดียเป็นผลพวงมาจากขบวนการเอกราชอินเดียผ่านการต่อสู้แบบอหิงสา และ การดื้อแพ่ง ที่นำโดยคองเกรสแห่งชาติอินเดีย

วันประกาศเอกราชของประเทศอินเดีย
ประเทศอินเดีย วันเอกราช
การดึงเชือกกระตุกธงชาติอินเดียกางออกที่หน้าป้อมแดง ประเพณีที่กระทำเป็นสัญลักษณ์ทุกปี
ชื่ออื่นस्वतंत्रता दिवस
จัดขึ้นโดยชาวอินเดีย
ประเภทระดับ
ความสำคัญรำลึกถึงการประกาศเอกราชของประเทศอินเดีย
การเฉลิมฉลองอัญเชิญธงชาติ, พาเหรด, ดอกไม้ไฟ, ขับร้องดนตรีของชาติและเพลงชาติ ชนะ คณะ มนะ, สุนทรพจน์ดดยนายกรัฐมนตรีอินเดีย และ ประธานาธิบดีอินเดีย
วันที่15 สิงหาคม
ความถี่รายปักษ์
ครั้งแรก15 สิงหาคม 1947
ส่วนเกี่ยวข้องวันสาธารณรัฐ

การได้รับเอกราชของอินเดียนั้นมาพร้อมกับการแบ่งเส้นอาณาเขตอินเดีย ซึ่งบริติชอินเดียถูกแบ่งออกตามศาสนาเป็น เขตกรรมสิทธิ์อินเดียและ ปากีสถาน การแบ่งเขตนั้นนำไปสู่การประท้วงและจลาจลที่รุนแรงจนมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก และทำให้เกิดการโยกย้ายประชากรตามศาสนาที่ถูกแบ่งเส้นอาณาเขตกว่า 15 ล้านคน หลังเผชิญความรุนแรงทางศาสนา ในวันที่ 15 สิงหาคม 1947 นายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดีย ชวาหะร์ลาล เนห์รู ดึงเชือกกระตุกธงชาติอินเดียกางออกจากยอดเสาธงด้านหน้าประตูลาหอริ เดลี จึงเป็นธรรมเนียมสืบต่อมาสู่การเชิญธงและปราศัยต่อหน้าประชาชนในทุกวันประกาศเอกราช กิจกรรมต่าง ๆ นั้นจะถ่ายทอดสดทั่วประเทศโดย ดูร์ดาร์ชาน สถานีโทรทัศน์ทางการของอินเดีย โดยมักเริ่มด้วยเพลง เชห์นาอี ของ อูสตัด บิสมิลลา ข่าน

อ้างอิง

Tags:

Civil disobedienceขบวนการเอกราชอินเดียพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรวันหยุดในประเทศอินเดียสหราชอาณาจักรอหิงสา

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

จังหวัดอุดรธานีจังหวัดราชบุรีมินนี่ (นักร้อง)เปรม ติณสูลานนท์จังหวัดกาญจนบุรีณัฐธิชา นามวงษ์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตราประจำพระองค์ในประเทศไทยค็อกเทล (วงดนตรี)สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีบาท (สกุลเงิน)โป๊กเกอร์กรมการปกครองยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2024ยู-พรินซ์ซีรีส์วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกหม่ำ จ๊กมกสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนรวิชญ์ ฐิติเจริญรักษ์เกศริน ชัยเฉลิมพลฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่นกองทัพอากาศไทยบัวขาว บัญชาเมฆอินสตาแกรมอาเลฆันโดร การ์นาโชจิรายุ ตั้งศรีสุขประเทศอิสราเอลโรงพยาบาลในประเทศไทยกาจบัณฑิต ใจดีศุภพงษ์ อุดมแก้วกาญจนาเทย์เลอร์ สวิฟต์ภาวะโลกร้อนชนาธิป โพธิ์ทองคำก็อตซิลลาสมเด็จพระเจ้าสุริเยนทราธิบดีจ้าว ลู่ซือมาเก๊าวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหารเลิฟซิคเดอะซีรีส์ รักวุ่น วัยรุ่นแสบรายชื่อตัวละครในเกิดใหม่ทั้งทีก็เป็นสไลม์ไปซะแล้วอัสซะลามุอะลัยกุมปรีดี พนมยงค์ราชสกุลประเทศกัมพูชาสัปเหร่อ (ภาพยนตร์)ธีรเดช เมธาวรายุทธกูเกิล แผนที่พระคเณศธนาคารไทยพาณิชย์ดราก้อนบอล ซูเปอร์ป๊อกเด้งโรดรีกู กอยส์จังหวัดแพร่อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งปรมาจารย์ลัทธิมาร (ละครโทรทัศน์)เมลดา สุศรีพระศรีอริยเมตไตรยดาบพิฆาตอสูรราชสกุลจักรพงษ์เศรษฐศาสตร์ชวลิต ยงใจยุทธผู้หญิง 5 บาปวันไหลวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารมหาวิทยาลัยมหาสารคามบาร์เซโลนา4 KINGS 2ประเทศตุรกีมังกี้ ดี. ลูฟี่อนิเมะศิริลักษณ์ คองบีดีเอสเอ็มปรเมศร์ น้อยอ่ำจังหวัดหนองบัวลำภูอาลิง โฮลันกรรชัย กำเนิดพลอย🡆 More