มิโคยัน

บริษัทผลิตอากาศยานรัสเซียมิก หรือ อาร์เอสเค มิก (อังกฤษ: Russian Aircraft Corporation MiG, RSK MiG) เป็นบริษัทของรัสเซีย เดิมทีเคยเป็นมิโคยัน หรือ สำนักงานออกแบบมิโคยัน-กูเรวิชค์ (อังกฤษ: Mikoyan, Mikoyan-i-Gurevich Design Bureau (รัสเซีย: Микоян и Гуревич, МиГ) มันเป็นสำนักงานออกแบบอากาศยานทางทหารซึ่งเน้นไปที่เครื่องบินขับไล่ ในอดีตเคยเป็นสำนักงานออกแบบของสหภาพโซเวียตและก่อตั้งขึ้นโดยอาร์เทม มิโคยันและมิไคล์ กูเรวิชค์จึงเป็นที่มาของคำว่ามิก (MiG) เมื่อมิโคยันเสียชีวิตลงในปีพ.ศ.

2513 ชื่อกูเรวิชค์ก็ถูกนำออกแม้ว่ายังคงใช้คำย่อว่ามิกเหมือนเดิม บริษัทยังได้ทำการสร้างและออกแบบเครื่องจักรอย่างเฮลิคอปเตอร์คามอฟ

รัสเซียน แอร์คราฟท์ คอร์เปอร์เรชั่น มิก
ประเภทบริษัทเดี่ยว
อุตสาหกรรมเครื่องบินและการป้องกัน
ก่อตั้งธันวาคม พ.ศ. 2482
สำนักงานใหญ่มอสโคว์ประเทศรัสเซีย
บุคลากรหลัก
อาร์เทม มิโคยันและมิไคล์ กูเรวิชค์เป็นผู้ก่อตั้ง
ผลิตภัณฑ์เครื่องบินทางการทหาร
เครื่องบินพลเรือน
รายได้80,033,284,000 รูเบิลรัสเซีย (พ.ศ. 2560) Edit this on Wikidata
รายได้จากการดำเนินงาน
15,758,754,000 รูเบิลรัสเซีย (พ.ศ. 2560) Edit this on Wikidata
รายได้สุทธิ
501,073,000 รูเบิลรัสเซีย (พ.ศ. 2560) Edit this on Wikidata
สินทรัพย์208,848,036,000 รูเบิลรัสเซีย (พ.ศ. 2560) Edit this on Wikidata
เจ้าของรัฐบาลรัสเซีย
พนักงาน
10,090 (พ.ศ. 2556) Edit this on Wikidata
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ

เครื่องบินของมิกถูกใช้โดยจีน เกาหลีเหนือ และเวียดนามเหนือในการปะทะกับสหรัฐอเมริกาและสัมพันธมิตร สหภาพโซเวียตได้ขายเครื่องบินจำนวนมากที่เป็นมิกเช่นกัน

รัฐบาลรัสเซียกำลังวางแผนที่จะรวมมิโคยันเข้ากับอิลยูชิน ไอร์คัท ซุคฮอย ตูโปเลฟ และยาโกเลฟเข้าด้วยกันเพื่อสร้างบริษัทใหม่ชื่อยูไนเต็ด แอร์คราฟท์ คอร์เปอร์เรชั่น

รายชื่ออากาศยานของมิโคยัน

มิโคยัน 
มิก-15
มิโคยัน 
มิก-21
มิโคยัน 
มิก-23
มิโคยัน 
มิก-25
มิโคยัน 
มิก-29
มิโคยัน 
มิก-29โอวีที

รุ่นที่ผลิต

  • มิก-1 พ.ศ. 2483
  • มิก-3 พ.ศ. 2484
  • มิก-5 พ.ศ. 2485
  • มิก-7 พ.ศ. 2487
  • มิก-9 พ.ศ. 2490
  • มิก-15 พ.ศ. 2491
  • มิก-17 พ.ศ. 2497
  • มิก-19 พ.ศ. 2498 มิกแบบแรกที่ทำความเร็วเหนือเสียง
  • มิก-21 พ.ศ. 2503
  • มิก-23 พ.ศ. 2513 (แบบที่สามที่ใช้ชื่อมิก-23)
  • มิก-25 พ.ศ. 2513
  • มิก-27 พ.ศ. 2518 เป็นแบบที่พัฒนามาจากมิก-23 เพื่อทำหน้าที่โจมตีภาคพื้นดิน
  • มิก-29 พ.ศ. 2526 เทียบได้กับเอฟ-16 ไฟท์ติ้งฟอลคอนและเอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ทของสหรัฐฯ
    • มิก-29เอ็ม
  • มิก-31 พ.ศ. 2526
  • มิก-33 พ.ศ. 2532 เป็นรุ่นก้าวหน้าของมิก-29 ยังรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่ามิก-29เอ็ม
  • มิก-35 พ.ศ. 2548 เป็นรุ่นสำหรับส่งออกซึ่งผสมระบบใหม่ของมิก-29เอ็ม2 เข้ากับเรดาร์เออีเอสเอ และแรงขับของมิก-29โอวีที โดยขายในอินเดียโดยใช้ชื่อมิก-29เอ็มอาร์ซีเอ

รุ่นทดลอง

  • มิก-6 พ.ศ. 2483 (แบบลาดตระเวนและโจมตีภาคพื้นดิน)
  • มิก-8 พ.ศ. 2488
  • มิก ไอ-211 พ.ศ. 2485
  • มิก ไอ-250 (ไอ) พ.ศ. 2488
  • มิก ไอ-270 พ.ศ. 2489
  • มิโคยัน-กูเรวิชค์ ยี-152 พ.ศ. 2502 นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟลิปเปอร์
  • มิก-23 - (แบบแรกที่ใช้ชื่อนี้) รุ่นผลิตของยี-2เอ ในปีพ.ศ. 2499
  • มิก-23 - (แบบที่สองที่ใช้ชื่อนี้) ชื่อแรกของอี-8 (อี-8/1 และอี-8/2) ปีพ.ศ. 2503
  • มิก-เอที พ.ศ. 2535
  • มิก-110 พ.ศ. 2538
  • มิก เอ็มเอฟไอ อ็อบเจกต์1.44/1.42 'แฟลทพ็อค' พ.ศ. 2529-2543
  • มิก แอลเอฟไอ โปรเจกต์
  • มิก-105 สไปรัล พ.ศ. 2508
  • มิโคยัน-อราคีเลียน มิก เออาร์เอ-107
  • มิโคยัน-กูเรวิชค์ ยี-152

อากาศยานไร้คนขับและโดรน

  • มิก สแคท

ข้อตกลงในการตั้งชื่อ

ส่วนใหญ่แล้วมิกจะเป็นชื่อของเครื่องบินขับไล่ แต่ก็มีมิก-8 และมิก-110 ที่ไม่ใช่เครื่องบินขับไล่เช่นกัน มิก-105 สไปรัลถูกออกแบบมาเพื่อเป็นเครื่องบินสกัดกั้นทางวงโคจรเพื่อแข่งกับเอ็กซ์-20 ไดน่า-ซอร์ของสหรัฐฯ

นาโต้ใช้ชื่อเล่น F เพื่อแทนเครื่องบินขับไล่ ออกเสียงหนึ่งพยางค์เพื่อหมายถึงเครื่องบินลูกสูบและสองพยางค์เพื่อหมายถึงเครื่องบินไอพ่น

แหล่งข้อมูลอื่น

หมายเหตุ เว็บไซต์ต่อไปนี้มีรายละเอียดเป็นภาษาอังกฤษ

อ้างอิง

Tags:

มิโคยัน รายชื่ออากาศยานของมิโคยัน แหล่งข้อมูลอื่นมิโคยัน อ้างอิงมิโคยันภาษารัสเซียภาษาอังกฤษรัสเซียสหภาพโซเวียตอากาศยานเครื่องบินขับไล่

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกธีรศักดิ์ เผยพิมายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจังหวัดลพบุรีพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ดพฤษภาทมิฬสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐมอรรถวิชช์ สุวรรณภักดีจังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566จาตุรนต์ ฉายแสงฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปีจารุศิริ ภูวนัยพระพุทธชินราชปฏิจจสมุปบาทชวรัตน์ ชาญวีรกูลสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรีพรรคเส้นด้ายสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรอริยสัจ 4พรรคเพื่อไทยสโมสรฟุตบอลเบรนต์ฟอร์ดประเทศญี่ปุ่นสฤษดิ์ ธนะรัชต์สมชาย วงศ์สวัสดิ์แฮร์รี เคนพรรคเพื่อชาติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมหาภารตะฆูเลียน อัลบาเรซ (นักฟุตบอล)เมษายนกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอาณาจักรสุโขทัยกรรณ สวัสดิวัตน์ ณ อยุธยาคะนึงนิจ จักรสมิทธานนท์ซีเกมส์รัฐประหารในประเทศไทยธีรภัทร์ สัจจกุลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาท็อปเชฟไทยแลนด์ 2023สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีสโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลารายชื่อนายกรัฐมนตรีไทยสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดทางรถไฟสายใต้อีเอฟแอลแชมเปียนชิปบุพเพสันนิวาสจังหวัดชลบุรีเบิ้ล ปทุมราช อาร์สยามวาโลแรนต์ซง จุง-กีพรรคอนาคตใหม่วสันต์ โชติกุลนางอาย (ละครโทรทัศน์)ปาเมลา ปาสิเนตตีอัสนี-วสันต์ไชยา สะสมทรัพย์รายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานครอึ่งอ่างบ้านอัสซะลามุอะลัยกุมเซเวนทีน (วงดนตรี)ใต้เงาตะวันลัดดาแลนด์ (ภาพยนตร์)วราวุธ ศิลปอาชาสุรบถ หลีกภัยเกฟิน เดอ เบรยเนอพุฒิพงศ์ อัสสรัตนกุลสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรีนิธิ สมุทรโคจรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วัดไชยวัฒนารามวาทกรรมกองทัพไทยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครลีออน เจมส์จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566ปรีดี พนมยงค์🡆 More