ภาษาอาฟรีกานส์

ภาษาอาฟรีกานส์ (อาฟรีกานส์: Afrikaans) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกตะวันตกที่มีผู้พูดในแอฟริกาใต้, นามิเบีย และมีจำนวนน้อยในบอตสวานา, แซมเบีย และซิมบับเว พัฒนาจากภาษาพื้นเมืองดัตช์ในฮอลแลนด์ (สำเนียงฮอลแลนด์)ที่ผู้โดยผู้ตั้งถิ่นฐานชาวยุโรป (ดัตช์, ฝรั่งเศส และเยอรมัน) และทาสของพวกเขาในแอฟริกาใต้ แล้วเริ่มพัฒนารูปแบบของตนเองในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ถือให้ภาษาอาฟรีกานส์เป็นภาษาครีโอลบางส่วน เช่นเดียวกันกับนักวิชาการด้านภาษาศาสตร์อาฟรีกานส์ที่ให้ภาษานี้เป็นภาษาครีโอลบางส่วน

ภาษาอาฟรีกานส์
ออกเสียง[afriˈkɑːns]
ประเทศที่มีการพูดแอฟริกาใต้, นามิเบีย
ชาติพันธุ์
จำนวนผู้พูด7.2 ล้านคน  (2016)
ผู้พูดภาษาที่สอง 10.3 ล้านคนในแอฟริกาใต้ (2002)
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
รูปแบบก่อนหน้า
ฟรังค์
  • ดัตช์เก่า
    • ตัตช์สมัยกลาง
      • ดัตช์สมัยใหม่
        • ภาษาอาฟรีกานส์
ระบบการเขียน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองในธงของประเทศนามิเบีย นามิเบีย
ผู้วางระเบียบDie Taalkommissie
รหัสภาษา
ISO 639-1af
ISO 639-2afr
ISO 639-3afr
Linguasphere52-ACB-ba
ภาษาอาฟรีกานส์
แผนที่แสดงจำนวนผู้พูดภาษาอาฟริกานส์ทั่วโลก
  250,000 ถึง 7,000,000 คน
  40,000 ถึง 250,000 คน
  10,000 ถึง 40,000 คน
  1,000 ถึง 10,000 คน
  น้อยกว่า 1,000 คน
  ไม่ทราบ
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด
Rossouw พูดภาษาอาฟรีกานส์
Colin พูดภาษาอาฟรีกานส์
Alaric พูดภาษาอาฟรีกานส์

ถึงแม้ว่าภาษาอาฟรีกานส์ยืมศัพท์จากภาษาอื่น ๆ เช่น เยอรมันและกลุ่มภาษาคอยซาน มีศัพท์ภาษาอาฟรีกานส์ประมาณ 90 ถึง 95% มีที่มาจากภาษาดัตช์ ดังนั้น ความแตกต่างของภาษานี้จากภาษาดัตช์ มักพบในวิทยาหน่วยคำประเภทแยกหน่วยคำกับไวยากรณ์ของภาษาอาฟรีกานส์ และรูปสะกดที่แสดงออกถึงการออกเสียงภาษาอาฟรีกานส์มากกว่าภาษาดัตช์มาตรฐาน ระหว่างสองภาษานี้มีระดับความเข้าใจร่วมกัน (mutual intelligibility) สูง โดยเฉพาะในรูปเขียน

ศัพทมูลวิทยา

ชื่อภาษามีที่มาจากศัพท์ภาษาดัตช์ว่า Afrikaansch (ปัจจุบันสะกดเป็น Afrikaans) หมายถึง "แอฟริกัน" เดิมสื่อถึง "ชาวดัตช์เคป" (สามารถรวมถึงผู้ตั้งถิ่นฐานชาวดัตช์ก่อนหน้า) หรือ "ชาวดัตช์ครัว" (kitchen Dutch; คำดูถูกที่ใช้เรียกชาวอาฟรีกานส์ในช่วงแรก) เนื่องจากเป็นภาษาที่ทาสของผู้ตั้งถิ่นฐานในอาณานิคมพูด "ในห้องครัว" อย่างไรก็ตาม มีหลายแหล่งที่กล่าวถึงเป็นภาษาครีโอลฐานดัตช์หรือเป็นภาษาที่ถูกทำให้เป็นครีโอลบางส่วน

อักขรวิธี

ตารางอักษร

อักษรอาฟรีกานส์และการออกเสียง
หน่วยอักขระ สัทอักษรสากล ตัวอย่างและหมายเหตุ
a /a/, /ɑː/ appel ('apple'; /a/), tale ('languages'; /ɑː/). Represents /a/ in closed syllables and /ɑː/ in stressed open syllables
á /a/, /ɑ:/ (after)
ä /a/, /ɑ:/ sebraägtig ('zebra-like'). The diaeresis indicates the start of new syllable.
aa /ɑː/ aap ('monkey', 'ape'). Only occurs in closed syllables.
aai /ɑːi/ draai ('turn')
ae /ɑːə/ vrae ('questions'); the vowels belong to two separate syllables
ai /ai/ baie ('many', 'much' or 'very'), ai (expression of frustration or resignation)
b /b/, /p/ boom ('tree')
c /s/, /k/ Found only in borrowed words or proper nouns; the former pronunciation occurs before 'e', 'i', or 'y'; featured in the Latinate plural ending -ici (singular form -ikus)
ch /ʃ/, /x/, /k/ chirurg ('surgeon'; /ʃ/; typically sj is used instead), chemie ('chemistry'; /x/), chitien ('chitin'; /k/). Found only in recent loanwords and in proper nouns
d /d/, /t/ dag ('day'), deel ('part', 'divide', 'share')
dj /d͡ʒ/, /k/ djati ('teak'), broodjie ('sandwich'). Used to transcribe foreign words for the former pronunciation, and in the diminutive suffix -djie for the latter in words ending with d
e /e(ː)/, /æ(ː)/, /ɪə/, /ɪ/, /ə/ bed (/e/), mens ('person', /eː/) (lengthened before /n/) ete ('meal', /ɪə/ and /ə/ respectively), ek ('I', /æ/), berg ('mountain', /æː/) (lengthened before /r/). /ɪ/ is the unstressed allophone of /ɪə/
é /e(ː)/, /æ(ː)/, /ɪə/ dié ('this'), mét ('with', emphasised), ék ('I; me', emphasised) ,wéét ('know', emphasised)
è /e/ Found in loanwords (like crèche) and proper nouns (like Eugène) where the spelling was maintained, and in four non-loanwords: ('yes?', 'right?', 'eh?'), ('here, take this!' or '[this is] yours!'), ('huh?', 'what?', 'eh?'), and appèl ('(formal) appeal' (noun)).
ê /eː/, /æː/ ('to say'), wêreld ('world'), lêer ('file') (Allophonically /æː/ before /(ə)r/)
ë - Diaeresis indicates the start of new syllable, thus ë, ëe and ëi are pronounced like 'e', 'ee' and 'ei', respectively
ee /ɪə/ weet ('to know'), een ('one')
eeu /ɪu/ leeu ('lion'), eeu ('century', 'age')
ei /ei/ lei ('to lead')
eu /ɪɵ/ seun ('son' or 'lad')
f /f/ fiets ('bicycle')
g /x/, /ɡ/ /ɡ/ exists as the allophone of /x/ if at the end of a root word preceded by a stressed single vowel + /r/ and suffixed with a schwa, e.g. berg ('mountain') is pronounced as /bæːrx/, and berge is pronounced as /bæːrɡə/
gh /ɡ/ gholf ('golf'). Used for /ɡ/ when it is not an allophone of /x/; found only in borrowed words. If the h instead begins the next syllable, the two letters are pronounced separately.
h /ɦ/ hael ('hail'), hond ('dog')
i /i/, /ə/ kind ('child'; /ə/), ink ('ink'; /ə/), krisis ('crisis'; /i/ and /ə/ respectively), elektrisiteit ('electricity'; /i/ for all three; third 'i' is part of diphthong 'ei')
í /i/, /ə/ krísis ('crisis', emphasised), dít ('that', emphasised)
î /əː/ wîe (plural of wig; 'wedges' or 'quoins')
ï /i/, /ə/ Found in words such as beïnvloed ('to influence'). The diaeresis indicates the start of new syllable.
ie /i(ː)/ iets ('something'), vier ('four')
j /j/ julle (plural 'you')
k /k/ kat ('cat'), kan ('can' (verb) or 'jug')
l /l/ lag ('laugh')
m /m/ man ('man')
n /n/ nael ('nail')
ʼn /ə/ indefinite article ʼn ('a'), styled as a ligature (Unicode character U+0149)
ng /ŋ/ sing ('to sing')
o /o/, /ʊə/, /ʊ/ op ('up(on)'; /o/), grote ('size'; /ʊə/), polisie ('police'; /ʊ/)
ó /o/, /ʊə/ óp ('done, finished', emphasised), gróót ('huge', emphasised)
ô /oː/ môre ('tomorrow')
ö /o/, /ʊə/ Found in words such as koöperasie ('co-operation'). The diaeresis indicates the start of new syllable, thus ö is pronounced the same as 'o' based on the following remainder of the word.
oe /u(ː)/ boek ('book'), koers ('course', 'direction')
oei /ui/ koei ('cow')
oo /ʊə/ oom ('uncle' or 'sir')
ooi /oːi/ mooi ('pretty', 'beautiful'), nooi ('invite')
ou /ɵu/ By itself means ('guy'). Sometimes spelled ouw in loanwords and surnames, for example Louw.
p /p/ pot ('pot'), pers ('purple' — or 'press' indicating the news media; the latter is often spelled with an <ê>)
q /k/ Found only in foreign words with original spelling maintained; typically k is used instead
r /r/ rooi ('red')
s /s/, /z/, /ʃ/, /ʒ/ ses ('six'), stem ('voice' or 'vote'), posisie ('position', /z/ for first 's', /s/ for second 's'), rasioneel ('rational', /ʃ/ (nonstandard; formally /s/ is used instead) visuëel ('visual', /ʒ/ (nonstandard; /z/ is more formal)
sj /ʃ/ sjaal ('shawl'), sjokolade ('chocolate')
t /t/ tafel ('table')
tj /tʃ/, /k/ tjank ('whine like a dog' or 'to cry incessantly'). The latter pronunciation occurs in the common diminutive suffix "-(e)tjie"
u /ɵ/, /y(ː)/ stuk ('piece'), unie ('union'), muur ('wall')
ú /œ/, /y(:)/ búk ('bend over', emphasised), ú ('you', formal, emphasised)
û /ɵː/ brûe ('bridges')
ü - Found in words such as reünie ('reunion'). The diaeresis indicates the start of a new syllable, thus ü is pronounced the same as u, except when found in proper nouns and surnames from German, like Müller.
ui /ɵi/ uit ('out')
uu /y(ː)/ uur ('hour')
v /f/, /v/ vis ('fish'), visuëel ('visual')
w /v/, /w/ water ('water'; /v/); allophonically /w/ after obstruents within a root; an example: kwas ('brush'; /w/)
x /z/, /ks/ xifoïed ('xiphoid'; /z/), x-straal ('x-ray'; /ks/).
y /əi/ byt ('bite')
ý /əi/ ('he', emphasised)
z /z/ Zoeloe ('Zulu'). Found only in onomatopoeia and loanwords

หมายเหตุ

อ้างอิง

ข้อมูล

อ่านเพิ่ม

  • Grieshaber, Nicky. 2011. Diacs and Quirks in a Nutshell – Afrikaans spelling explained. Pietermaritzburg. ISBN 978-0-620-51726-3; e-ISBN 978-0-620-51980-9.
  • Roberge, P. T. (2002), "Afrikaans – considering origins", Language in South Africa, Cambridge, England: Cambridge University Press, ISBN 0-521-53383-X
  • Thomas, C. H. (1899), "Boer language", Origin of the Anglo-Boer War revealed, London, England: Hodder and Stoughton

แหล่งข้อมูลอื่น

This article uses material from the Wikipedia ไทย article ภาษาอาฟรีกานส์, which is released under the Creative Commons Attribution-ShareAlike 3.0 license ("CC BY-SA 3.0"); additional terms may apply (view authors). เนื้อหาอนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้ CC BY-SA 4.0 เว้นแต่ระบุไว้เป็นอื่น Images, videos and audio are available under their respective licenses.
®Wikipedia is a registered trademark of the Wiki Foundation, Inc. Wiki ไทย (DUHOCTRUNGQUOC.VN) is an independent company and has no affiliation with Wiki Foundation.

Tags:

ภาษาอาฟรีกานส์ ศัพทมูลวิทยาภาษาอาฟรีกานส์ อักขรวิธีภาษาอาฟรีกานส์ หมายเหตุภาษาอาฟรีกานส์ อ้างอิงภาษาอาฟรีกานส์ อ่านเพิ่มภาษาอาฟรีกานส์ แหล่งข้อมูลอื่นภาษาอาฟรีกานส์กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกซิมบับเวนามิเบียบอตสวานาภาษาครีโอลภาษาดัตช์ฮอลแลนด์แซมเบียแอฟริกาใต้

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

จังหวัดอุบลราชธานีราชสกุลสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดรายชื่อสัตว์เอกซ์เจแปนเอซี มิลานจังหวัดปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนาณวัสน์ ภู่พันธัชสีห์เอมี่ กลิ่นประทุมรายชื่อสมาชิกบีเอ็นเคโฟร์ตีเอตสุทธิรักษ์ ทรัพย์วิจิตรรายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณเอฟเอคัพเขตการปกครองของประเทศพม่ามิถุนายนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวนิวจีนส์สฤษดิ์ ธนะรัชต์เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข ในรัชกาลที่ 5คณะองคมนตรีไทยวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารซีเนดีน ซีดานสโมสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโนในฤดูกาล 2019–20ณัฏฐณิชา ดังวัธนาวณิชย์กวนอิมนกกะรางหัวขวานเซเรียอา ฤดูกาล 2023–24สุภัคชญา ชาวคูเวียงธนนท์ จำเริญมิลลิ (แร็ปเปอร์)ภัทร เอกแสงกุลฤดูกาลพิศวาสฆาตเกมส์รายชื่อภาพยนตร์ที่ทำเงินสูงสุดในประเทศไทยอีเอฟแอลคัพสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)รัฐฉานวชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์พรหมวิหาร 4โชเซ มูรีนโยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024ภาคตะวันตก (ประเทศไทย)ศาสนาฮินดูAโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจ้าว ลู่ซือสำนักพระราชวังจุลจักร จักรพงษ์ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)สโมสรกีฬาฟุตบอลนาโปลีจุดทิศหลักครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!สงกรานต์เมธวิน โอภาสเอี่ยมขจรเรวัช กลิ่นเกษรเขตพื้นที่การศึกษาโอลิมปิกฤดูร้อน 2024เศรษฐา ทวีสินรายชื่อตัวละครในเกิดใหม่ทั้งทีก็เป็นสไลม์ไปซะแล้วศาสนาอิสลามวอลเลย์บอลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมืองพัทยารายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามขนาดพื้นที่อภิรัชต์ คงสมพงษ์ไฮคิว!! คู่ตบฟ้าประทานสีประจำวันในประเทศไทยรายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยวชิรวิชญ์ ชีวอารีFก็อตซิลลานาโปลีดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)หมากรุกสากล🡆 More