การาจี

การาจี (อูรดู: کراچی; สินธ์: ڪراچي; สัทอักษรสากล:   ( ฟัง)) เป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศปากีสถาน และเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 12 ของโลก โดยมีจำนวนประชากรมากกว่า 20 ล้านคน การาจีตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศ ติดกับทะเลอาหรับ ในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของปากีสถาน และยังคงเป็นเมืองหลักของแคว้นสินธ์ นครจัดจัดเป็นเมืองระดับโลกชั้นเบตา นครนี้เป็นศูนย์กลางทางการเงินและอุตสาหกรรมชั้นนำของประเทศ ใน ค.ศ.

2021 จีดีพีโดยประมาณของนครนี้อยู่ที่มากกว่า 200,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พีพีพี) ตามรายงานจาก FBR นครการาจีจ่ายภาษี 9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (25% ของทั้งประเทศ) ในช่วงปีงบประมาณในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2021 ถึงพฤษภาคม ค.ศ. 2022 การาจียังเป็นนครที่มีความเป็นสากล ความหลากหลายทางภาษา เชื้อชาติ และศาสนามากที่สุดของประเทศปากีสถาน และเป็นหนึ่งในนครที่มีเสรีภาพทางสังคมและโลกิยนิยมมากที่สุดของประเทศ การาจีทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการขนส่ง และมีท่าเรือใหญ่สุดสองแห่งของประเทศ คือ ท่าเรือการาจีกับท่าเรือกอซิม และเป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานที่มีคนพลุกพล่านมากที่สุดของประเทศ คือ ท่าอากาศยานนานาชาติจินนาห์

การาจี

کراچی
ตามเข็มนาฬิกาจากบน: Mazar-e-Quaid, Hawke's Bay Beach, Frere Hall, Karachi Port Trust Building, พระราชวังโมฮัตตา, ท่าเรือการาจี
ตามเข็มนาฬิกาจากบน:
Mazar-e-Quaid, Hawke's Bay Beach, Frere Hall, Karachi Port Trust Building, พระราชวังโมฮัตตา, ท่าเรือการาจี
สมญา: 
นครแห่ง Quaid, ปารีสตะวันออก, นครแห่งแสง, Bride of the Cities
การาจีตั้งอยู่ในแคว้นสินธ์
การาจี
การาจี
ที่ตั้งในแคว้นสินธ์
การาจีตั้งอยู่ในประเทศปากีสถาน
การาจี
การาจี
ที่ตั้งในประเทศปากีสถาน
การาจีตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย
การาจี
การาจี
การาจี (ทวีปเอเชีย)
การาจีตั้งอยู่ในโลก
การาจี
การาจี
การาจี (โลก)
พิกัด: 24°51′36″N 67°0′36″E / 24.86000°N 67.01000°E / 24.86000; 67.01000
ประเทศการาจี ปากีสถาน
แคว้นการาจี แคว้นสินธ์
เขตการาจี
จัดตั้งค.ศ. 1729
สภามหานคร1880; 144 ปีที่แล้ว (1880)
สภานครCity Complex, Gulshan-e-Iqbal Town
เขต
7
  • การาจีกลาง
  • การาจีตะวันออก
  • การาจีใต้
  • การาจีตะวันตก
  • Korangi
  • Malir
  • Kemari
การปกครอง
 • ประเภทองค์การมหานคร
 • องค์กรรัฐบาลการาจี
 • นายกเทศมนตรีไม่มี (ว่าง)
 • รองนายกเทศมนตรีไม่มี (ว่าง)
 • เจ้าหน้าที่ปกครองDr. Saif ur Rehman
 • ข้าหลวงIqbal Memon
พื้นที่
 • นคร3,780 ตร.กม. (1,460 ตร.ไมล์)
ความสูง10 เมตร (30 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน 2017)
 • นคร14,916,456 คน
 • อันดับที่ 1 (ปากีสถาน); ที่ 12 (โลก)
 • ความหนาแน่น3,900 คน/ตร.กม. (10,000 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล16,051,521 คน
เขตเวลาUTC+05:00 (เวลามาตรฐานปากีสถาน)
รหัสไปรษณีย์74XXX – 75XXX
รหัสโทรศัพท์021
จีดีพี/พีพีพี200,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2021)
ท่าอากาศยานนานาชาติจินนาห์ (KHI)
ระบบขนส่งมวลชนเร็วการาจีบรีซ
เขตที่มีพื้นที่มากสุดMalir
ประชากรมากสุดตามพื้นที่ (2020)Orangi Town (2,750,000)
บริเวณที่มีจีดีพีสูงสุด (2020)Saddar Town (40,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
เว็บไซต์www.kmc.gos.pk

แคว้นนี้มีผู้อยู่อาศัยมาหลายสหัสวรรษ แต่ตัวนครได้รับการจัดตั้งเป็นหมู่บ้านที่มีป้อมปราการชื่อ Kolachi ใน ค.ศ. 1729 การตั้งถิ่นฐานมีความสำคัญเพิ่มขึ้นอย่างมากเมื่อบริษัทอินเดียตะวันออกเข้ามาในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เจ้าหน้าที่ปกครองของอังกฤษได้ดำเนินโครงการมากมายเพื่อเปลี่ยนเมืองให้กลายเป็นเมืองท่าที่สำคัญ และเชื่อมมันกับเครือข่ายรถไฟส่วนขยายของอนุทวีปอินเดีย ในช่วงที่มีการแบ่งอินเดียใน ค.ศ. 1947 การาจีเป็นเมืองใหญ่สุดในแคว้นสินธ์ โดยมีประชากรประมาณ 400,000 คน หลังวันเอกราชปากีสถาน นครนี้เกิดารเปลี่ยนแปลงในด้านจำนวนประชากรและประชากรศาสตร์อย่างมาก เนื่องจากการเข้ามาของผู้อพยพมุสลิม Muhajir (ผู้พูดภาษาอูรดู) แสนกว่าคนจากอินเดีย ประกอบกับการอพยพออกของพลเมืองฮินดู ซึ่งทำให้ชาวฮินดูในนครลดลงจาก 51.1% เหลือเพียง 1.7% ของประชากรทั้งหมด นครนี้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วหลังปากีสถานได้รับเอกราช ดึงดูดผู้อพยพจากทั่วประเทศและภูมิภาคอื่น ๆ ในเอเชียใต้ รายงานจากสำมะโนปากีสถาน ค.ศ. 2017 การาจีมีประชากรทั้งหมด 16,051,521 คน โดย 14.9 ล้านคนอาศัยอยู่ในเขตเมือง การาจีเป็นหนึ่งในเมืองที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก และมีชุมชนที่สำคัญจากกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศปากีสถานเกือบทั้งหมด การาจีมีผู้อพยพชาวเบงกอล 2 ล้านคน ผู้ลี้ภัยชาวอัฟกัน 1 ล้านคน และชาวโรฮีนจาจากประเทศพม่า 400,000 คน

ศัพทมูลวิทยา

ก่อนปากีสถานเป็นเอกราช นครนี้รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อ Karanchi ในภาษาอูรดู ถึงแม้ว่ารูปสะกดภาษาอังกฤษ Karachi เริ่มกลายเป็นที่นิยมมากขึ้น

เมืองพี่น้อง

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Singh, Sarina (2008). Pakistan and the Karakoram Highway. Lonely Planet. ISBN 978-1-74104-542-0.
  • Janin, Hunt; Mandia, Scott A. (11 October 2012). Rising Sea Levels: An Introduction to Cause and Impact. McFarland & Company. ISBN 978-0-7864-5956-8.
  • Sind Muslim College, Karachi (1965). Sind Muslim College Magazine. The University of Michigan.

แหล่งข้อมูลอิ่น

การาจี 
Wikinews
วิกิข่าว มีข่าวเกี่ยวกับบทความ:
Category:Karachi


Tags:

การาจี ศัพทมูลวิทยาการาจี เมืองพี่น้องการาจี อ้างอิงการาจี แหล่งข้อมูลอิ่นการาจีKarachi pronunciation.oggPurchasing power parityทะเลอาหรับประเทศปากีสถานภาษาสินธ์ภาษาอูรดูแคว้นสินธ์

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกชานน สันตินธรกุลการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475สนุกเกอร์เผ่าภูมิ โรจนสกุลทักษอร ภักดิ์สุขเจริญเพลงเฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์คณเดชน์ คูกิมิยะรถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยารายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานครเรวัช กลิ่นเกษรภาคตะวันออก (ประเทศไทย)สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยรายชื่อภาพยนตร์ที่ทำเงินสูงสุดในประเทศไทยอองซานซูจีอริศรา วงษ์ชาลีอชิรญา นิติพนยูฟ่ายูโรปาลีกเครยอนชินจังชาเคอลีน มึ้นช์สมาคมกีฬาโรมาเล่ห์ราคะ (ภาพยนตร์)ธนินท์ เจียรวนนท์การ์โล อันเชลอตตีญีนา ซาลาสสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงประเทศสิงคโปร์ผสมสิบสุภัคชญา ชาวคูเวียงศาสนาพุทธกรุงเทพมหานครหลวงปู่ดู่ พฺรหฺมปญฺโญพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรรายชื่อตอนในสุภาพบุรุษสุดซอยทวีปยุโรปมหาศึกชิงบัลลังก์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์)รัฐฉานทวี ไกรคุปต์เจนี่ อัลภาชน์ภาวะโลกร้อนลิซ่า (แร็ปเปอร์)ขบวนการจอมราชัน คิงโอเจอร์ไลแคน (บอยแบนด์)นฤมล พงษ์สุภาพโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาปรีดี พนมยงค์รัมมี่ศุกลวัฒน์ คณารศสนามกีฬาเวมบลีย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์นุสบา ปุณณกันต์ไดโนเสาร์สติปัฏฐาน 4รายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งประวัติศาสตร์ไทยวิกิพีเดียวัดโสธรวรารามวรวิหารรายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทยประเทศลาวกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)บูมเมอแรง (ประเทศไทย)พระไตรปิฎกสโมสรฟุตบอลเมืองทอง ยูไนเต็ดเบ็นเท็น (ซีรีส์โทรทัศน์ พ.ศ. 2548)สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดจังหวัดพะเยาปราโมทย์ ปาทานปีเตอร์ เดนแมนตารางธาตุรชตะ หัมพานนท์ปุญญ์ปรีดี คุ้มพร้อม รอดสวาสดิ์ระบบพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพ.ศ. 2564🡆 More