รัฐกลันตัน

กลันตัน หรือ เกอลันตัน (มลายู: Kelantan, کلنتن; มลายูปัตตานี: كلنتن, กือลาแต) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธ์มาเลเซีย มีชื่อเฉลิมเกียรติเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลนาอิม (ถิ่นที่อยู่ที่สวยงาม) เมืองหลวงและเมืองของเจ้าผู้ครองประจำรัฐคือโกตาบารู

รัฐกลันตัน

Negeri Kelantan
เนอเกอรีเกอลันตันดารุลนาอิม
Negeri Kelantan Darul Naim
การถอดเสียงต่าง ๆ
 • มลายูKelantan (รูมี)
کلنتن(ยาวี)
 • มลายูปัตตานีكلنتن(ยาวี),
กือลาแต (ไทย)
ธงของรัฐกลันตัน
ธง
ตราราชการของรัฐกลันตัน
ตราอาร์ม
คำขวัญ: 
เบอร์เซอระฮ์ เกอปาดา ตูฮัน เกราจาอัน เกอลันตัน
("อาณาจักรกลันตันยอมจำนนต่อพระเจ้า")
เพลง: เซอลามัตซุลตัน
   รัฐกลันตัน ใน    ประเทศมาเลเซีย
   รัฐกลันตัน ใน    ประเทศมาเลเซีย
พิกัด: 5°15′N 102°0′E / 5.250°N 102.000°E / 5.250; 102.000
เมืองหลวงโกตาบารู
เมืองเจ้าผู้ครองโกตาบารู
การปกครอง
 • ประเภทราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญระบบรัฐสภา
 • สุลต่านสมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5
 • มุขมนตรีอะฮ์มัด ยักกบ (พรรคอิสลามมาเลเซีย)
พื้นที่
 • ทั้งหมด17,100 ตร.กม. (6,600 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2018)
 • ทั้งหมด2,001,000 คน
 • ความหนาแน่น120 คน/ตร.กม. (300 คน/ตร.ไมล์)
ดัชนีรัฐ
 • ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (2010)0.723 (สูง) (อันดับที่ 13)
เขตเวลาUTC+8 (เวลามาตรฐานมาเลเซีย)
รหัสไปรษณีย์15xxx ถึง 18xxx
รหัสโทรศัพท์09
รหัส ISO 3166MY-03
ทะเบียนพาหนะD
ปาตานีปกครองค.ศ. 1603
สยามปกครองพฤศจิกายน ค.ศ. 1786
รัฐสุลต่านกลันตันค.ศ. 1800
สหราชอาณาจักรปกครองค.ศ. 1909
ญี่ปุ่นยึดครอง8 ธันวาคม ค.ศ. 1941
เข้าร่วมสหพันธรัฐมาลายา1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1948
รับเอกราชเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมาลายา31 สิงหาคม ค.ศ. 1957
ก่อตั้งสหพันธรัฐมาเลเซีย16 กันยายน ค.ศ. 1963
เว็บไซต์www.kelantan.gov.my

รัฐกลันตันตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส ประเทศไทย ทางทิศเหนือ ติดต่อกับรัฐตรังกานูทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ รัฐเประทางทิศตะวันตก และรัฐปะหังทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจรดทะเลจีนใต้

จากการที่พรรคอิสลามมาเลเซีย (Parti Islam Se-Malaysia) มีฐานอำนาจอยู่ในรัฐนี้มานานหลายปี จึงทำให้กลันตันเป็นรัฐที่มีความเป็นอนุรักษนิยมทางสังคมมากที่สุดในประเทศ องค์ประกอบทางชาติพันธุ์ประกอบด้วยชาวมลายูร้อยละ 95 ชาวไทยร้อยละ 3 ชาวจีนร้อยละ 1.9 และอื่น ๆ ร้อยละ 0.1

อ้างอิง

Tags:

ประเทศมาเลเซียภาษามลายูภาษามลายูปัตตานีโกตาบารู

🔥 Trending searches on Wiki ไทย:

สมเด็จพระนเรศวรมหาราชณัฏฐณิชา ดังวัธนาวณิชย์เสรีพิศุทธ์ เตมียเวสเบบี้เมทัลพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรกูเกิล แปลภาษาคิม โก-อึนประเทศซาอุดีอาระเบียภาษาพม่าสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสฤษดิ์ ธนะรัชต์แทททูคัลเลอร์หน้าหลักคิมเบอร์ลี่ แอน โวลเทมัสโป๊กเกอร์นิโคลัส มิคเกลสันธีรศิลป์ แดงดารหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศหญิงรักร่วมเพศอดอล์ฟ ฮิตเลอร์อิษยา ฮอสุวรรณชนาธิป สรงกระสินธ์ประเทศตุรกีสุวัฒน์ แจ้งยอดสุขพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชรายชื่อเครื่องบินของการบินไทยประเทศฟิลิปปินส์จังหวัดนครราชสีมาประเทศสเปนซันนี่ สุวรรณเมธานนท์รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาดราก้อนบอล ซูเปอร์แหลม มอริสันฟุตบอลทีมชาติสเปนยูทูบกรณ์นภัส เศรษฐรัตนพงศ์ปฏิวัติ คำไหมธี่หยดคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติแม่นากพระโขนงเอก อังสนานนท์จังหวัดน่านสยาม ศิริมงคลลือชัย งามสมกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)เป็นต่อสุจาริณี วิวัชรวงศ์เรวัช กลิ่นเกษรไกรศักดิ์ ชุณหะวัณคริสเตียโน โรนัลโดราชกิจจานุเบกษาผู้หญิง 5 บาปจังหวัดนครปฐมราชวงศ์จักรีจังหวัดของประเทศไทยจิรายุ ตั้งศรีสุขรายชื่อสกุลญี่ปุ่นที่ใช้มากที่สุดธนินท์ เจียรวนนท์ภาษาไทยรายชื่อตอนในเป็นต่อพระราชสังวราภิมณฑ์ (โต๊ะ อินฺทสุวณฺโณ)จังหวัดสระบุรีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตพระโคตมพุทธเจ้าคิม จี-ว็อน (นักแสดง)ธีรดนย์ ศุภพันธุ์ภิญโญเขตพื้นที่การศึกษาอชิรญา นิติพนธนาคารไทยพาณิชย์การบินไทยฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024สเตรนเจอร์ ธิงส์พลพล พลกองเส็งสหประชาชาตินิภาภรณ์ ฐิติธนการปานวาด เหมมณีรายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามประชากรรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้🡆 More